งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาชุมชนในเขตตำบลพนางตุง - ทะเลน้อย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาชุมชนในเขตตำบลพนางตุง - ทะเลน้อย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาชุมชนในเขตตำบลพนางตุง - ทะเลน้อย
จัดทำโดย เยาวชน สนับสนุนโดย วิทยาลัยภูมิปัญญาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณร่วมกับเทศบาลตำบลพนางคุง

2 ภูมิปัญญาการตีเหล็ก เป็นเครื่องมือการเกษตร
จัดทำโดย เยาวชน วิทยาลัยภูมิปัญญาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ ร่วมกับเทศบาลตำบลพนางตุง

3 ภูมิปัญญาการตีเหล็ก เป็นเครื่องมือการเกษตร
สถานที่ตั้ง หมู่ที่ 12 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง โดย นายจำลอง นิ่มคร

4 แผนที่ตั้ง วักควนพนางตุง ถนนควนขนุน - ทะเลน้อย
ถนนควนขนุน ทะเลน้อย ระยะทาง 1 ก.ม จากถนนใหญ่ บ้านนายจำลอง นิ่มคร รร พนางตุง

5 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ 1. ถ่านไม้ละเอียด
2. เหล็กที่ใช้ในการตีมีด (เหล็กหมุดรางรถไฟ)

6 3. เตาไฟ ทั่งตีเหล็ก 5. ค้อน คีม

7 7. ปากกาจับงาน หินเจียร 9.ตะใบ เลื่อย

8 11. เครื่องตัดเหล็ก 12. เครื่องเชื่อมเหล็ก
13.หินลับมีด น้ำมันเครื่องเก่า

9 15. น้ำ

10 ขั้นตอนการทำ 1. เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ตามข้างต้นที่กล่าวมา
2. ก่อไฟในเตาถ่านแล้วใช้พัดลมเป่าเพื่อให้ถ่านร้อนแดง

11 3. นำชิ้นงานวางในเตารอจนร้อนแดง

12 4. ใช้คีมจับเหล็กจับชิ้นงานแล้วนำไปวางที่ทั่งตีเหล็ก

13 5. ตีเหล็กที่เผาให้ได้ตามขนาดที่ต้องการ

14 6. นำชิ้นงานไปจับกับปากกาเพื่อทำการตกแต่งผิวให้เรียบ

15 7. ใช้หินเจียรตกแต่งให้เป็นผิวเรียบ

16 8. ตกแต่งคมให้เสมอด้วยตะใบ

17 9. นำชิ้นงานที่ตกแต่งเสร็จแล้วไปเผาไฟอีกครั้ง

18 10. ใช้คีมจับชิ้นงานแล้วนำไปชุบน้ำมันเพื่อเพิ่มความแข็งแรง

19 11. นำชิ้นงานแช่น้ำอีกครั้งเพื่อลดความร้อน

20 12. นำชิ้นงานไปจับที่ปากกาเพื่อลับคมกับหินเจียรอีกครั้ง

21 13. นำชิ้นงานที่ลับคมเสร็จไปลับกับหินลับมีดเริ่มจากหินหยาบไปหาหินละเอียดจนเกิดความคม

22 14. และได้ชิ้นงานที่สมบูรณ์พร้อมใช้งาน

23 7. ประโยชน์ที่ได้รับ 1.นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
2.สามารถหารายได้ให้กับครอบครัว 3.ได้เรียนรู้วิธีการตีเหล็ก 4.สามารทำใช้เองได้โดยไม่ต้องซื้อ 5.นำของเก่าที่ชำรุดมาซ่อมแซมเป็นของใหม่ได้

24 8. คุณค่าที่มีต่อท้องถิ่น
1. ทำชื่อเสียงให้กับคนในท้องถิ่น 2. เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป 3. ได้รักษาภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. ได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. ได้สืบทอดจากคนรุ่นเก่าไปยังคนรุ่นใหม่

25 9.ผลที่ได้รับจากการเรียนรู้
1. ได้รู้วิธีการตีเหล็ก 2. ได้ใช้ประโยชน์จากของที่มีให้คุ้มค่า 3. นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4. ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

26 10. จุดเด่น - จุดด้อยของภูมิปัญญาที่เรียนรู้
จุดเด่น – เป็นที่รู้จักของคนในท้องที่ - มีรายได้ในครอบครัว จุดด้อย – คนต่างถิ่นยังไม่รู้จัก - ไม่มีป้ายบอกเส้นทาง - ขาดคนสานต่อเจตนา(ผู้สืบทอด) - ขาดการประชาสัมพันธ์

27 ภาพชิ้นงานที่ได้จากการเรียนรู้

28 ผมเมายาบ้าครับพี่

29 สู้โว้ย

30 อยากลองของ

31 รับถาก ร่องยาง จ้าง

32 ภูมิปัญญาท้องถิ่น เรา...สู้ไม่ถอย


ดาวน์โหลด ppt แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาชุมชนในเขตตำบลพนางตุง - ทะเลน้อย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google