พัฒนาการของวัฒนธรรม สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย แบ่งออกได้เป็น 4 ช่วงระยะเวลาย่อย ดังนี้ ระยะที่ 1 ครอบคลุมช่วงระยะเวลาตั้งแต่ราว 400,000-600,000 ถึง 10,000 ปีมาแล้ว ระยะที่ 2 ครอบคลุมช่วงระยะเวลาตั้งแต่ราว 10,000 ถึง 5,000 ปีมาแล้ว ระยะที่ 3 ครอบคลุมช่วงระยะเวลาตั้งแต่ราว 5,000 ถึง 2,500 ปีมาแล้ว ระยะที่ 4 ครอบคลุมช่วงระยะเวลาตั้งแต่ราว 2,500 ถึง 1,500 ปีมาแล้ว
แหล่งโบราณคดีสำคัญของสมัยก่อนประวัติศาสตร์ระยะที่ 1 ช่วงก่อนหน้า 10,000 ปีมาแล้ว 1. แหล่งโบราณคดีที่อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง 2. แหล่งโบราณคดีถ้ำหลังโรงเรียน จังหวัดกระบี่ 3. แหล่งโบราณคดีถ้ำผีแมน จังหวัดแม่ฮ่องสอน
แหล่งโบราณคดีสำคัญของสมัยก่อนประวัติศาสตร์ระยะที่ 2 ระหว่าง 10,000 – 5,000 ปีมาแล้ว 1. แหล่งโบราณคดีถ้ำหลังโรงเรียน จังหวัดกระบี่ 2. แหล่งโบราณคดีถ้ำผีแมน จังหวัดแม่ฮ่องสอน
แหล่งโบราณคดีสำคัญของสมัยก่อนประวัติศาสตร์ระยะที่ 3 ระหว่าง 5,000 – 2,500 ปีมาแล้ว 1. แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี 2. แหล่งโบราณคดีบ้านเก่า จังหวัดกาญจนบุรี
แหล่งโบราณคดีสำคัญของสมัยก่อนประวัติศาสตร์ระยะที่ 4 ระหว่าง 2,500 ปีมาแล้วลงมา 1. แหล่งโบราณคดีบ้านปราสาท จังหวัดนครราชสีมา
ภาพรวมของวัฒนธรรมช่วงก่อนหน้า 10,000 ปีมาแล้ว ลักษณะการทำมาหากิน หาของป่า - ล่าสัตว์ เทคโนโลยีการทำเครื่องมือใช้สอย เครื่องมือหินกะเทาะ แบบแผนที่พำนักอาศัย ที่พักไม่ถาวร ตามถ้ำ เพิงผา ที่โล่งใกล้น้ำ
ภาพรวมของวัฒนธรรมช่วง 10,000 - 5,000 ปีมาแล้ว ภาพรวมของวัฒนธรรมช่วง 10,000 - 5,000 ปีมาแล้ว ลักษณะการทำมาหากิน หาของป่า - ล่าสัตว์ เทคโนโลยีการทำเครื่องมือใช้สอย เครื่องมือหินกะเทาะ แบบแผนที่พำนักอาศัย ที่พักไม่ถาวร ตามถ้ำ เพิงผา ที่โล่งใกล้น้ำ
ลักษณะการทำมาหากิน แบบแผนที่พำนักอาศัย ภาพรวมของวัฒนธรรมช่วง 5,000 - 2,500 ปีมาแล้ว ลักษณะการทำมาหากิน หาของป่า - ล่าสัตว์และ เกษตรกรรม เทคโนโลยีการทำเครื่องมือใช้สอย เครื่องมือหินขัด ภาชนะดินเผา เครื่องมือสำริด แบบแผนที่พำนักอาศัย ที่พักถาวรในที่ราบ
ภาพรวมของวัฒนธรรมช่วง 2,500 ปีมาแล้วลงมา ภาพรวมของวัฒนธรรมช่วง 2,500 ปีมาแล้วลงมา ลักษณะการทำมาหากิน เกษตรกรรม เทคโนโลยีการทำเครื่องมือใช้สอย การโลหกรรม(สำริดและเหล็ก) แก้ว แบบแผนที่พำนักอาศัย ที่พักถาวรรวมกันเป็นชุมชนใหญ่
สรุปพัฒนาการของวัฒนธรรม สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย แม้ว่าเรายังพบฟอสซิลของบรรพบุรุษมนุษย์รุ่นแรกๆที่มีอายุนับแสนๆปีมาแล้วในประเทศไทยน้อยมาก แต่ก็ได้พบเครื่องมือหินกะเทาะที่อาจเป็นของประชากรดังกล่าว รวมทั้งยังได้พบเครื่องมือหินของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์รุ่นหลังๆที่พัฒนาเป็นคนที่มีลักษณะกายภาพแบบคนในปัจจุบัน จึงสามารถกล่าวได้ว่าพื้นที่ที่เป็นประเทศไทยปัจจุบันมีบรรพบุรุษมนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยตั้งแต่เมื่อกว่าแสนปีมาแล้ว หลังจากนั้นก็มีบรรพบุรุษมนุษย์อยู่อาศัยมาโดยตลอด
หมู่บ้านเกษตรกรรมรุ่นแรก หมู่บ้านเกษตรกรรมเริ่มปรากฏขึ้นในบางภูมิภาคของประเทศไทยตั้งแต่ราว 4,000 - 4,500 ปีมาแล้ว
ภาชนะดินเผารุ่นแรกๆ เกษตรกรสมัยก่อนประวัติศาสตร์รุ่นแรกในประเทศไทยในภูมิภาคต่างๆใช้ภาชนะดินเผาหลากหลายแบบ