หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ
Advertisements

เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชิน ปลีหะจินดา

กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
Business Economics for a Better World ถอดความโดย คุณประจวบ ตรีนิกร
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
วิชาชีพและจริยธรรมทางการตลาด
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสหกรณ์
บทที่ 1 เป้าหมายและหน้าที่ในการบริหารการเงินเบื้องต้น.
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
การพัฒนาองค์กรด้วยนวัตกรรม ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
Good Corporate Governance
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
บทที่ 8 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การบริหาร จัดการ ทรัพยากร ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
โปรแกรมการจัดการระบบการเงิน ในร้านโชห่วย
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่

ความหมาย : การผลิตหรือซื้อขายสินค้า หรือบริการโดยหวังผลกำไร และรับผิดชอบต่อความเสี่ยง ความรับผิดชอบจ่อสังคมและมีจริยธรรม

ประเภทของธุรกิจ ธุรกิจการผลิต ธุรกิจบริหาร ธุรกิจการค้า

รูปแบบของการประกอบธุรกิจ 1. กิจการเจ้าของคนเดียว 2. ห้างหุ้นส่วน ห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจำกัด 3. บริษัท จำกัด บริษัทเอกชน จำกัด บริษัทมหาชน

ธุรกิจขนาดย่อม หมายถึง ธุรกิจที่ดำเนินงานโดยคนงานน้อยกว่า 500 คน และมีทุนจดทะเบียนต่ำกว่า 200 ล้านบาท

ประเภทของธุรกิจขนาดย่อม ธุรกิจการผลิต การเกษตร อาหาร โรงงาน หัตถกรรม ธุรกิจชุมชน OTOP

2. ธุรกิจการค้าส่ง 3. ธุรกิจการค้าปลีก ร้านค้าโชว์ห่วย ร้านค้าสะดวกซื้อ Minimart / Ministore E – Commerce / E- Business

4. ธุรกิจบริการ ธุรกิจการเงิน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 4. ธุรกิจบริการ ธุรกิจการเงิน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจทางการแพทย์ / คลินิก ธุรกิจเกี่ยวกับการขนส่ง ธุรกิจเกี่ยวกับการบันเทิง ธุรกิจเกี่ยวกับการศึกษา ธุรกิจเกี่ยวกับกีฬา ธุรกิจเกี่ยวกับการประกันภัย

ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ 1. ความหมาย : ความไม่แน่นอนของ การเกิดปรากฎการณ์ที่ทำให้ธุรกิจเกิด ความสูญเสีย

ประเภทของความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงที่แท้จริง เกิดแก่บุคคล เกิดแก่ทรัพย์สิน เกิดแก่ความรับผิดชอบ 2. ความเสี่ยงจากการคาดการณ์ การจัดการ การเมือง นวัตกรรม

3. ความเสี่ยงพื้นฐาน สภาวะทางเศรษฐกิจ สภาวะทางการเงิน ภัยธรรมชาติ ภัยจากการสงคราม ภัยจากการก่อการร้าย

4. ความเสี่ยงจำเพาะ - ไฟไหม้ - อุบัติเหตุ 4. ความเสี่ยงจำเพาะ - ไฟไหม้ - อุบัติเหตุ 5. ความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงได้ การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ทางการค้าของโลก การเปลี่ยนแปลงรสนิยมของผู้บริโภค

6. ความเสี่ยงคงที่ - ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นแน่นอน - รสนิยมของลูกค้า 6. ความเสี่ยงคงที่ - ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นแน่นอน - รสนิยมของลูกค้า 7. ความเสี่ยงที่เอาประกันได้ มีลักษณะสำคัญ อุบัติเหตุ คำนวณได้ ความสูญเสียที่แท้จริงระบุในสัญญาประกันภัย ไม่สูญเสียมากเกินไป

8. ความเสี่ยงที่เอาประกันภัยไม่ได้ 8. ความเสี่ยงที่เอาประกันภัยไม่ได้ ขาดสถิติ ภัยต่อสาธารณะ จากผลประโยชน์ มีความเสี่ยงมากเกินไป

ความรับผิดชอบต่อสังคม 1. ความหมาย : การบริหารจัดการที่มีการปกป้องและปรับปรุงสวัสดิการสังคมโดยรวมและขององค์กร

2. ตัวแบบความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจเอกชนของ Davis ความรับผิดชอบต่อสังคม เกิดจากการกระทำของธุรกิจ ธุรกิจจะดำเนินการเป็นระบบเปิด 2 ทาง ความรับผิดชอบต่อสังคม มีค่าใช้จ่าย ธุรกิจและผู้บริโภครับผิดชอบค่าใช้จ่ายทางสังคมร่วมกัน ธุรกิจร่วมในการแก้ปัญหาสังคม

จริยธรรมทางธุรกิจ 1. ความหมาย : การจัดการผลประโยชน์ให้เป็นธรรมแก่ผู้ได้รับประโยชน์ทุกฝ่าย 2. ประโยชน์ของจริยธรรมทางธุรกิจ : เพิ่มผลผลิต / ผลิตภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ได้รับประโยชน์ดีขึ้น เป็นไปตามระเบียบราชการ

3. จริยธรรมทางธุรกิจ ข้อความที่กำหนดขึ้นอย่างเป็นทางการ เพื่อเป็นแนวในการปฏิบัติที่มีการรับผิดชอบต่อสังคม และจริยธรรม

บรรษัทภิบาล 1. ความหมาย : การบริหารจัดการที่นำไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืนขององค์กร โดยมีคุณธรรม จริยธรรม และความมีรับผิดชอบต่อสังคม 2. องค์ประกอบของบรรษัทภิบาล (1) โครงสร้างและกระบวนการ (2) ความสามารถและภูมิปัญญา (3) คุณธรรมและจริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม