หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่
ความหมาย : การผลิตหรือซื้อขายสินค้า หรือบริการโดยหวังผลกำไร และรับผิดชอบต่อความเสี่ยง ความรับผิดชอบจ่อสังคมและมีจริยธรรม
ประเภทของธุรกิจ ธุรกิจการผลิต ธุรกิจบริหาร ธุรกิจการค้า
รูปแบบของการประกอบธุรกิจ 1. กิจการเจ้าของคนเดียว 2. ห้างหุ้นส่วน ห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจำกัด 3. บริษัท จำกัด บริษัทเอกชน จำกัด บริษัทมหาชน
ธุรกิจขนาดย่อม หมายถึง ธุรกิจที่ดำเนินงานโดยคนงานน้อยกว่า 500 คน และมีทุนจดทะเบียนต่ำกว่า 200 ล้านบาท
ประเภทของธุรกิจขนาดย่อม ธุรกิจการผลิต การเกษตร อาหาร โรงงาน หัตถกรรม ธุรกิจชุมชน OTOP
2. ธุรกิจการค้าส่ง 3. ธุรกิจการค้าปลีก ร้านค้าโชว์ห่วย ร้านค้าสะดวกซื้อ Minimart / Ministore E – Commerce / E- Business
4. ธุรกิจบริการ ธุรกิจการเงิน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 4. ธุรกิจบริการ ธุรกิจการเงิน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจทางการแพทย์ / คลินิก ธุรกิจเกี่ยวกับการขนส่ง ธุรกิจเกี่ยวกับการบันเทิง ธุรกิจเกี่ยวกับการศึกษา ธุรกิจเกี่ยวกับกีฬา ธุรกิจเกี่ยวกับการประกันภัย
ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ 1. ความหมาย : ความไม่แน่นอนของ การเกิดปรากฎการณ์ที่ทำให้ธุรกิจเกิด ความสูญเสีย
ประเภทของความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงที่แท้จริง เกิดแก่บุคคล เกิดแก่ทรัพย์สิน เกิดแก่ความรับผิดชอบ 2. ความเสี่ยงจากการคาดการณ์ การจัดการ การเมือง นวัตกรรม
3. ความเสี่ยงพื้นฐาน สภาวะทางเศรษฐกิจ สภาวะทางการเงิน ภัยธรรมชาติ ภัยจากการสงคราม ภัยจากการก่อการร้าย
4. ความเสี่ยงจำเพาะ - ไฟไหม้ - อุบัติเหตุ 4. ความเสี่ยงจำเพาะ - ไฟไหม้ - อุบัติเหตุ 5. ความเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงได้ การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ทางการค้าของโลก การเปลี่ยนแปลงรสนิยมของผู้บริโภค
6. ความเสี่ยงคงที่ - ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นแน่นอน - รสนิยมของลูกค้า 6. ความเสี่ยงคงที่ - ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นแน่นอน - รสนิยมของลูกค้า 7. ความเสี่ยงที่เอาประกันได้ มีลักษณะสำคัญ อุบัติเหตุ คำนวณได้ ความสูญเสียที่แท้จริงระบุในสัญญาประกันภัย ไม่สูญเสียมากเกินไป
8. ความเสี่ยงที่เอาประกันภัยไม่ได้ 8. ความเสี่ยงที่เอาประกันภัยไม่ได้ ขาดสถิติ ภัยต่อสาธารณะ จากผลประโยชน์ มีความเสี่ยงมากเกินไป
ความรับผิดชอบต่อสังคม 1. ความหมาย : การบริหารจัดการที่มีการปกป้องและปรับปรุงสวัสดิการสังคมโดยรวมและขององค์กร
2. ตัวแบบความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจเอกชนของ Davis ความรับผิดชอบต่อสังคม เกิดจากการกระทำของธุรกิจ ธุรกิจจะดำเนินการเป็นระบบเปิด 2 ทาง ความรับผิดชอบต่อสังคม มีค่าใช้จ่าย ธุรกิจและผู้บริโภครับผิดชอบค่าใช้จ่ายทางสังคมร่วมกัน ธุรกิจร่วมในการแก้ปัญหาสังคม
จริยธรรมทางธุรกิจ 1. ความหมาย : การจัดการผลประโยชน์ให้เป็นธรรมแก่ผู้ได้รับประโยชน์ทุกฝ่าย 2. ประโยชน์ของจริยธรรมทางธุรกิจ : เพิ่มผลผลิต / ผลิตภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ได้รับประโยชน์ดีขึ้น เป็นไปตามระเบียบราชการ
3. จริยธรรมทางธุรกิจ ข้อความที่กำหนดขึ้นอย่างเป็นทางการ เพื่อเป็นแนวในการปฏิบัติที่มีการรับผิดชอบต่อสังคม และจริยธรรม
บรรษัทภิบาล 1. ความหมาย : การบริหารจัดการที่นำไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืนขององค์กร โดยมีคุณธรรม จริยธรรม และความมีรับผิดชอบต่อสังคม 2. องค์ประกอบของบรรษัทภิบาล (1) โครงสร้างและกระบวนการ (2) ความสามารถและภูมิปัญญา (3) คุณธรรมและจริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม