Chapter 3 Strategic Alignment Maturity

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบบูรณาการ
Advertisements

กรอบแนวทางการทำงาน Dummy Project
ขอบเขตงานกลุ่ม ที่ต้องทำส่ง 21 กพ 2557
Information systems; Organizations; Management; Strategy
การตรวจสอบภายในที่ไม่ใช่การจับผิด ทำอย่างไร ?
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
Introduction to HCI (2).
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การศึกษาดูงานเพื่อประยุกต์ใช้ในแผนยุทธศาสตร์
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
การบริหารคุณภาพองค์กร
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
Knowledge Management (KM)
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
THE MANAGEMENT AND CONTROL OF QUALITY
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ สหกรณ์
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
วุฒิภาวะการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ (Strategic Alignment Maturity)
การกำกับดูแลเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Governance)
System Integration.
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
MIS: Pichai Takkabutr EAU การเติบโตของ ICT ส่งผลกระทบต่อ Organizational SECTORS 3 Sectors World Economy :- Real Sectors :- Hard Goods VS. Upstream.
Definition and organization
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
กระบวนการบริหารและการคิดเชิงกลยุทธ์
การบริหารและกระบวนการวางแผน
strategy Formulation Structure Architecture Strategy deployment
Strategic management Business Concept Business Model
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
Lesson learned 3 มีนาคม 2556.
Developing our strategy Ten questions that need to be answered.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
Information Technology : IT
การประเมินผลการปฏิบัติราชการแนวใหม่
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
ADDIE Model.
การจัดการ (Management)
STRATEGIC MANAGEMENT การจัดการเชิงกลยุทธ์
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
Business Intelligence (BI) ธุรกิจอัจฉริยะ
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 3 Strategic Alignment Maturity Managing the Information Technology Resource Jerry N. Luftman

Chapter Outline ความสำคัญของ IT และ business environment Enablers และ inhibitors ของการทำ alignment แนวความคิด/สิ่งสำคัญของการทำ alignment maturity 5 levels ของ Strategic Alignment Maturity 6 Criteria ที่แสดงถึงคุณลักษณะของ levels of Strategic Alignment Model การประเมิน Strategic Alignment Maturity กระบวนการการทำ Alignment Process

Importance of Alignment ประสิทธิผล (Effectiveness) ประสิทธิภาพ (Efficiency) เชื่อมระหว่าง Technology และ Business

IT Management Should: ควรมีความรู้ว่า IT Technology ทั้งหลายสามารถรวมเข้ากับธุรกิจได้อย่างไร ควรสอดคล้องกับ senior management's tactical และ strategic plans มีส่วนร่วมเมื่อทำ corporate strategies รวมถึงการสนทนาด้วย ทำความเข้าใจถึง strengths และ weaknesses ของเทคโนโลยีและการนำมาใช้งาน

Strategic Alignment Maturity Levels Initial/Ad Hoc Process ธุรกิจและIT ยังไม่ปรับเข้าหากัน Committed Process องค์กรมีความเห็นตรงกันว่าจะปรับ (align) เข้าหากัน Established Focused Process จัดให้มีและมุ่งเน้นไปที่ business objectives Improved/Managed Process เสริมแนวความคิดของ IT ในเชิง “Value Center” Optimized Process รวม/ร่วมกันปรับ business และ IT strategic planning

Strategic Alignment Maturity Criteria การสื่อสาร (Communications) การวัดสมรรถนะ/คุณค่า (Competency/value measurements) ความโปร่งใส (Governance) การเป็นพันธมิตร (Partnerships) เขบเขตและสถาปัตยกรรม (Scope and Architecture) ทักษะต่าง ๆ (Skills)

Primary Objective of Assessment: เห็นตรงกันว่า criterion ใดที่จำเป็นต้องปรับปรุง เห็นตรงกันว่า criterion ใดที่ดีอยู่แล้ว แต่ควรปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น Disagree with how good/bad a criterion is

Communications มั่นใจได้ว่า ongoing knowledge sharing ใช้คนใน formal inter-unit ทำหน้าเป็นผู้ช่วย ก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่าง business-IT partners เชื่อใจและเปิดใจระหว่าง units และ IT

Competency/Value Measurements ระดับการให้บริการต่างๆที่สามารถประเมิน commitment of IT ได้ ระดับการให้บริการของ Tie มีการระบุไว้ชัดเจน Take action อ้างองิจากผลการวัดตัวแปรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพ ทำความเข้าใจแฟกเตอร์ต่าง ๆ ที่นำไปสู่การ missing criteria ทำความเข้าใจว่าอะไรบ้างที่ต้องเรียนรู้เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงสภาพแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง

Governance กำหนดให้ชัดเจนถึงขอบเขตอำนาจในการตัดสินใจ (decision-making authority) Integrated enterprise-wide strategic business plan

Partnership สร้างความสัมพันธ์ระหว่าง business และ IT organizations ให้ IT function เท่ากับบทบาทที่นิยามไว้ใน business strategy ยอมรับการสนับสนุน ช่วยเหลือ (Perception of contributions) การเป็นพันธมิตรควรเป็นเครื่องช่วยเสริมและผลักดันในการเปลี่ยนแปลง

Scope and Architecture ดำเนินการจาก back office ไปสู่ส่วนหน้า front office ตั้งสมมติฐานในการกำหนดบทบาทในการสนับสนุน flexible infrastructure วิเคราะห์และนำเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นมาใหม่ ๆ ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมและผลักดัน business processes and strategies จัดหา solutions customizable ให้สอดรับกับ customer needs

Skills พิจารณาทรัพยากรมนุษย์ทั้งหมดในองค์กร พิจารณาถึงสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมและสังคม

Level 1 – Initial/Ad Hoc Process เป็นระดับต่ำสุดของ strategic alignment ทำความเข้าใจ IT ในมุมมองของธุรกิจในระดับต่ำ การลงทุนใน IT อยู่ในระดับต่ำ (underleveraged)

Level 1

Level 1

Level 1

Level 2 – Committed Process Committed to begin process for Strategic Alignment Maturity มอง IT ในลักษณะเป็นทรัพย์สินขององค์กร มุ่งตรงไปที่ local situations หรือ functional organizations Alignment ที่ระดับที่ทำให้สำเร็จได้ยาก (difficult to achieve) โอกาสใด ๆ ที่มีแนวโน้มเป็นจริงควรบันทึกไว้

Level 2

Level 2

Level 2

Level 3 – Established Focused Process เน้นลงไปที่ governance, processes, และ communications ที่วิ่งไปสู่ specific business objectives ความต้องการ better governance เมื่อลงทุนด้าน IT มุ่งเน้นไปที่ business processes ที่สร้าง long-lasting competitive advantage ทำการสื่อสาร vision อย่างมีประสิทธิภาพ และ ให้ employees และ management เข้ามามีส่วนร่วม

Level 3

Level 3

Level 3

Level 4 – Improved/Managed Process Leverage IT assets on an enterprise-wide basis เน้นในการขับดัน business process enhancements เพื่อ gain competitive advantage มอง IT ในเชิง innovative และ imaginative strategic contributor ลงทุนในด้าน information และ knowledge Utilize IT assets by deploying enterprise-wide architecture

Level 4

Level 4

Level 4

Level 5

Level 5

Level 5

Assessing Strategic Alignment Maturity สิ่งนี้ไม่ fit เข้ากับองค์กร หรือ องค์กรไม่มีประสิทธิภาพ Fit เข้ากับองค์กรในระดับต่ำ Fit เข้ากับองค์กรในระดับปานกลาง หรือ องค์กรมีประสิทธิภาพในระดับปากกลาง Fit เข้ากับองค์มากที่สุด Fit เข้ากับทั่วทั้งองค์กรในระดับดี หรือ องค์กรมีประสิทธิภาพดี

Strategic Alignment Process กำหนด Goals และ ตั้ง Team ทำความเข้าใจ Business-IT Logic วิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของ Gaps กำหนดการดำเนินงานต่าง ๆ (Project Management) เลือกและวิเคราะห์ Success Criteria สนับสนุน (Sustain) Alignment

จบบทที่ 3 คำถาม ………..