แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
ENVIRONMENTAL SCIENCE
กลไกการวิวัฒนาการ.
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
สื่อประกอบการเรียนรู้
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Cloning : การโคลน , โคลนนิง
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
โครโมโซม.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
7.Cellular Reproduction
Nursery ก็ลดโลกร้อนได้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
สัมมนาวิชาการ Alien species กับการค้าสัตว์ป่า
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
การเกิดมิวเทชัน (mutation).
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ปลาหางนกยูง.
อาหารไทย.
การสืบพันธุ์และการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม. สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์  เพื่อ  1. ดำรงเผ่าพันธุ์  2. ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด จากบรรพบุรุษไปสู่รุ่นต่อไป.
Charles Darwin เป็นนัก ธรรมชาติวิทยาได้เดินทางไปสํารวจ และทําแผนที่ของฝั่งของทะเลทวีป อเมริกาใต้ Darwin ได้ประสบการณ์ จากการศึกษาพืชและสัตว์ที่มีอยู่
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน แต่ไม่ปรากฏในรุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะด้อย - DNA มีลักษณะ เป็นรูปบันไดเวียนขวา - โครโมโซมในสิ่งมีชีวิตเป็นได้เป็นกี่ประเภท ........................ - เพศหญิงมีโครโมโซมเป็นเช่นใด ..................... - เพศชายมีโครโมโซมเป็นเช่นใด .......................

-โครโมโซมของร่างกายคนมีจำนวนกี่คู่ ............. -โครโมโซมของคนมีจำนวนกี่คู่ ................ -โครโมโซมของร่างกายคนมีจำนวนกี่คู่ ............. -สายพันธุ์รุ่นลูกหลานที่เกิดจากการผสมในสายพันธุ์เดียวกันเรียกว่า พันธุ์แท้ -สายพันธุ์รุ่นลูกหลานที่เกิดจากการผสมพันธุ์แท้แต่ต่างลักษณะกันเรียกว่า พันธุ์ทาง -ลักษณะของยีนที่กำหนดและควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตแต่ละหน่วย เรียกว่า จีโนไทป์ -ลักษณะทางพันธุกรรมแต่ละลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏให้ภายนอกเรียกว่า ฟีโนไทน์ -หมู่เลือดใดมีมากที่สุดในคนไทย O

-หมู่เลือดใดมีน้อยที่สุดในคนไทย AB -กลุ่มเลือด ABO แบ่งตามชนิดของ โปรตีน -โครโมโซมคู่ที่ 21 ขาดหายไป คืออาการ ดาวน์ซินโดรม -เพศหญิงที่มีโครโมโซม X ขาดหายไปคืออาการ .......... -เพศหญิงที่มีโครโมโซม X เกินมา 1 แท่งคืออาการ ........ -เพศชายที่มีโครโมโซม X เกินมา 1 อันคืออาการ ......... -ทารกที่มีอาการปากแหว่ง เพดานโหว่ มักเสียชีวิตตั้งแต่อายุยังน้อย ๆ คืออาการ ........... -เด็กทารกที่มีเสียงร้องคล้ายแมวเป็นอาการชนิด คริดูชาตซินโดรม

-ปัจจัยใดที่มีผลต่อพันธุกรรมของคน คือ มิวทาเจน -อาการใดที่เด็กทารกเกร็งตลอดเวลาทำให้นิ้วเกยทับกัน อาการเอ็ดวาร์ดซินโดรม -คำกล่าวในข้อใดที่สนับสนุนหลักของพันธุกรรมมากที่สุด คือ พ่อแม่ เป็นอย่างไร ลูกก็มักจะเป็นอย่างนั้น -ปัจจัยใดที่มีผลต่อพันธุกรรมของคน คือ มิวทาเจน -พืชที่กำเนิดแรกเริ่มคือ สาหร่าย รา -สัตวชนิดแรกที่กำเนิดในโลกคือ ฟองน้ำ -ปัจจัยที่มีผลต่อความหลากหลายทางชีวภาพ การลดลงของสิ่งมีชีวิต การทำลายถิ่นกำเนิด การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ -การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของสิ่มีชีวิต เป็นผลทำให้เกิด วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

- ผลจากการใช้เทคโนโลยีชีวภาพ คือ ได้พันธุ์พืชที่เลวกว่าเดิม - ทฤษฏีวิวัฒนาการของดาร์วิน มีหลักการที่สำคัญ คือ หลักการคัดเลือกโดย ธรรมชาติ - ผลจากการใช้เทคโนโลยีชีวภาพ คือ ได้พันธุ์พืชที่เลวกว่าเดิม - สัตว์ชนิดแรกที่ประสบความสำเร็จในการทำโคลนนิ่งคือ แกะ ชื่อ DOLLY - อสุจิผสมกับไข่จากการร่วมเพศโดยธรรมชาติ โดยปกติเรียกว่า การปฏิสนธิ ภายใน - สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในแหล่งใดมีปัญหาการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด คือ บริเวณชายฝั่ง - การเลี้ยงปลาจึงเปิดไฟสว่าง เพื่อให้ปลาและพืชแลกเปลี่ยน O2 และ CO2 ซึ่งกันและกัน