งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Animal Science and Technology หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (Animal Breeding) ศกร คุณวุฒิฤทธิรณ พรรณวดี โสพรรณรัตน์ ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Homepage

2 หนังสืออ่านประกอบ การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ สมชัย จันทร์สว่าง
Understanding Animal Breeding. R.M. Bourdon Animal Science and Industry. Merle Cunningham and Duane Acker. Modern Livestock & Poultry Production. James R. Gillespie.

3 บทที่ 2 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ บทที่ 2 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม บทที่ 3 การคัดเลือกและระบบการผสมพันธุ์ บทที่ 4 เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์

4 บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
(Introduction to Animal Breeding)

5 แนวโน้มของความต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ของประชากรโลก
ประชากรมนุษย์ (จำนวน และ ความมั่งมี) ความต้องการตามธรรมชาติ ความปรารถนา ความต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์จากสัตว์ (เนื้อ, นม, ไข่, ขน, หนัง, เขา, ไขมัน, กีฬา, ฯลฯ) การผลิตสัตว์ (โค, สุกร, แพะ, แกะ, สัตว์ปีก, ม้า, ฯลฯ)

6 ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตปศุสัตว์
นโยบายรัฐบาล ชุมชน/สังคม ระบบเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการ (Manager) การจัดการ ทรัพยากร (Resources) สัตว์ (Animals)

7 ลดต้นทุนการประกอบการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
พันธุกรรม อาหาร การจัดการ ลดต้นทุนการประกอบการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

8 การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ เป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อปรับปรุงพันธุกรรมของตัวสัตว์
การปรับปรุงพันธุ์สัตว์Animal Breeding พันธุศาสตร์เบื้องต้น พันธุศาสตร์ประชากร Simple (Mendelian) Genetics & Population Genetics พันธุศาสตร์ปริมาณQuantitative Genetics พันธุศาสตร์โมเลกุล Molecular Genetics

9 ลูกตัวเมียทดแทนฝูง แม่ พ่อ
แม่ พ่อ เป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพื่อปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมของตัวสัตว์ เพื่อให้ได้สัตว์รุ่นลูก (โดยเฉลี่ย) มีลักษณะที่พึงประสงค์ “ดีกว่า” ค่าเฉลี่ยของสัตว์รุ่นพ่อ-แม่

10 ข้อควรพิจารณาในการพัฒนาพันธุกรรมของสัตว์
ต้องการสัตว์ที่มีลักษณะอย่างไร? “No best animal for all situations.” ลักษณะนั้น ๆ มีความสำคัญอย่างไร? ลักษณะนั้น ๆ วัดค่าได้หรือไม่ อย่างไร? การแสดงออกของลักษณะนั้น ๆ สัมพันธ์กับการแสดงออก ของลักษณะอื่น ๆ หรือไม่ อย่างไร? การแสดงออกชองลักษณะนั้น ๆ เป็นผลมาจากอิทธิพล ทางพันธุกรรมเพียงไร?

11 ขั้นตอนในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
การคัดเลือก วางแผนการปรับปรุงพันธุ์ ผสมพันธุ์ ประเมินค่าทางพันธุกรรม วัตถุประสงค์ของการปรับปรุงพันธุ์

12 ศัพท์เบื้องต้นทางการปรับปรุงพันธุ์ที่ควรทราบ
Trait ลักษณะที่สังเกตได้ Phenotype (ลักษณะปรากฏ) ประเภทหรือระดับการแสดงออกลักษณะใดๆ ของสัตว์ สีขน น้ำหนักแรกเกิด ขาว ดำ น้ำตาล 25, 30, 32 กก. Genotype รูปแบบของยีนหรือรูปแบบทางพันธุกรรม Environmental effects อิทธิพลจากปัจจัยภายนอกอื่นที่ ไม่ใช่พันธุกรรมที่มีต่อสมรรถภาพในการแสดงออกซึ่งลักษณะใดๆ ของสัตว์แต่ละตัว

13 P = G + E Phenotype = Genotype + Environmental Effects ลักษณะปรากฎ = รูปแบบทางพันธุกรรม + อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม P = G + E + G x E Phenotype = Genotype + Environmental Effects + Genotype by environment interactions (ปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนกับสิ่งแวดล้อม)

14

15

16 (commercial producers)
Breeding Objectives and Industry Structure seedstock Germ Plasm Elite Breeders Multipliers End Users (commercial producers)

17 จะปรับปรุงประชากรสัตว์ได้อย่างไร
การคัดเลือก (Selection):กระบวนการในการกำหนดให้สัตว์ตัวไหนที่จะมีโอกาสได้ขยายพันธุ์ (เป็นพ่อหรือแม่) จะให้ลูกจำนวนกี่ตัว และกำหนดระยะเวลาที่จะอยู่เป็นพ่อหรือแม่พันธุ์ การคัดเลือกตามธรรมชาติ (Natural selection)- การคัดเลือกโดยมนุษย์ (Artificial selection) ลักษณะปรากฏ ความสามารถทางพันธุกรรม

18 ระบบการผสมพันธุ์(Mating systems) (mating non-relative)
Close breeding (mating relative) Outbreeding (mating non-relative) Inbreeding Line breeding Crossbreeding Outcrossing Backcrossing Topcrossing Grading up

19 เครื่องมือพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนักปรับปรุงพันธุ์สัตว์ ในการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมคือ
การคัดเลือก การผสมพันธุ์


ดาวน์โหลด ppt หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google