บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
สื่อสารเกี่ยวกับโครงการ การพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล: ระยะที่ 1 การประเมินเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจน มหาวิทยาลัยมหิดล.
การประเมินสภามหาวิทยาลัย
เรื่อง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
Good Corporate Governance
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
การตรวจประเมินเชิงประจักษ์ ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคเหนือและภาคตะวันออก
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ผ่านกลไกสถานบันศึกษา
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
หลักเกณฑ์การจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Participation : Road to Success
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
ทิศทาง จุดเน้น การบริหารจัดการศึกษา ปีงบประมาณ ๒๕๕๖
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
การระดมความคิดกลุ่ม เขียนแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ 1. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการที่ได้เลือก จากแผนที่ใหญ่ โดยมีความสำคัญเร่งด่วน ใช้ เวลาสั้น.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การขับเคลื่อนและติดตามการดำเนินงาน ตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
การเปลี่ยนแปลงการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ในสถาบันอุดมศึกษา
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน เพื่อการพัฒนาส่วนงาน ม. มหิดล และแผ่นดิน วิจารณ์ พานิช เสนอในการสานเสวนาเรื่อง “บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน” จัดโดยสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๒๓ ก.พ. ๕๔ ศาลายา

หลักการบริหารและกำกับดูแลมหาวิทยาลัย มีประเพณี Collegial Community of Scholars รวมตัวกันเอง ออกเงินเอง หรือมีผู้อุปถัมภ์ เคลื่อนสู่ Business/Corporate Management & Governance รัฐ & สังคมเรียกร้อง USR

Strong Management & Participation หัวหน้าส่วนงาน – Strong Management & Collective Leadership คณะกรรมการส่วนงาน – Collective Leadership, Risk Management, Networking & Governance Mechanism ยึดโยงด้วย Goal/Target/Development ของส่วนงาน มหาวิทยาลัยมหิดล และประเทศไทย ยึดโยงด้วย คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ ความเห็นแก่ส่วนรวม – USR

Governance / Participatory Management ระดับส่วนงาน ของ มม. องค์ประกอบเป็นคนในส่วนงานทั้งหมด เป็นคณะกรรมการดำเนินงาน มุมมองเป็น inside view เน้นความร่วมมือ ความราบรื่น

คณะ กก. ประจำส่วนงานของ มม. หน. ส่วนงาน เป็น ปธ. รอง หน. ส่วนงานเป็น กก. หนภ. / ปธ. หลักสูตร กก. ผู้แทน อจ. ๔ เลือกตั้ง ผู้แทนสายอื่น ๐ – ๔ เลือกตั้ง

หน้าที่ ให้คำปรึกษา วางนโยบายและแผน พิจารณาเปิด/ปรับ/ยุบ การศึกษา/หลักสูตร วัด/ประเมินผลการศึกษา ติดตามผลของนโยบายและแผน

การประชุม ไม่น้อยกว่าเดือนละครั้ง กรรมการขอให้เรียกประชุมได้ ระบุองค์ประชุม ขอให้ประชุมลับได้ ระบุเกณฑ์การลงมติ

ไม่ได้ระบุเรื่อง Academic Leadership หัวหน้าส่วนงาน มาตรา ๓๗ ในแต่ละคณะและส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น ให้มีคณบดีหรือผู้อำนวยการคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของส่วนงานนั้น และจะให้มีรองคณบดีหรือรองผู้อำนวยการตามจำนวนที่สภาหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อทำหน้าที่และรับผิดชอบงานตามที่คณบดีหรือผู้อำนวยการมอบหมายก็ได้ ไม่ได้ระบุเรื่อง Academic Leadership

หัวหน้าส่วนงาน - คณะกรรมการ Strong leadership & coordination Synergy Risk management External collaboration

จุดอ่อน ขาดมุมมองจาก outside-in / stakeholders โอกาสริเริ่มงานเชิง innovative เกิดยาก? มีคนมองเป็น Balanced of Power ไม่มองเป็น Synergy ไม่ได้ระบุเรื่องการจัดการ/กำกับดูแล ทรัพยากร

กรรมการส่วนงานรูปแบบอื่น – มช. แยกเป็น ๒ ชุด : กก. อำนวยการ & กก. บริหาร กก. อำนวยการดูแลภาพใหญ่ ยุทธศาสตร์ การเงิน การลงทุน แต่งตั้งตำแหน่งบริหาร ประธานคืออธิการบดี หรือ... กรรมการเป็นกรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิ หรือบุคคลภายนอก ๓ – ๔ คน หัวหน้าส่วนงานเป็น กก. และเลขานุการ ได้ outside / development / strategic view คล้าย CMMU, MUIC, ว. ดุริยางคศิลป์

การสร้าง Shared Vision โดยกระบวนการทางวิชาการ ใช้ข้อมูลตรวจสอบ competitiveness, foresight อย่างไม่เป็นทางการ & ทางการ ไปสู่ความพร้อมใจ ทั่วทั้งส่วนงาน ใช้คณะกรรมการเป็นขั้นตอนที่เป็นทางการ แล้วเสนอที่ประชุมคณบดี -> สภาฯ

ความเป็นเลิศทางวิชาการของส่วนงาน ทำงานเดิมได้มีคุณภาพ ยกเลิกงานที่หมดความจำเป็น ริเริ่มงานใหม่ ที่นำหน้า คู่แข่งทำไม่ได้ ความร่วมมือภายในประเทศ ความร่วมมือต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับนับถือ ยกย่อง สนับสนุน ร่วมมือ

กลไกสู่ Top 100 World University ที่ยังไม่มี – International Advisory Committee 3 – 5 - 7 คน อาจมีคนไทย ๑ คน เพื่อมองอนาคต และเปิดทาง international collaboration ทำงานใหม่ กรรมการประจำส่วนงาน & อาจารย์ทุกคนเข้าร่วมฟัง

กลไกสู่ Top 100 World University Annual Retreat คุยกันเรื่องเชิงพัฒนา ภาพใหญ่ อนาคต อาจมี keynote speaker จุดประกาย ร่วมกันวาดภาพฝัน ให้เกิด “ฝันร่วม” (Shared Vision) และยุทธศาสตร์บรรลุเป้าหมาย

กลไกสู่ Top 100 World University Self-Evaluation ของคณะกรรมการหน่วยงาน เพื่อยกระดับ performance ของคณะกรรมการ เป็นการเตือนสติตนเอง ให้ทำงานโดยยึดหลัก รอบคอบ ซื่อสัตย์ ปฏิบัติตามกฎ โปร่งใส ทำงานใน strategic & generative mode