Workshop การวิเคราะห์ภาระงานกลุ่มการพยาบาลจักษุ โสตฯ โดย นางสาววราพร หาญคุณะเศรษฐ์ พยาบาลชำนาญการพิเศษ วันจันทร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2556 ห้อง 309 ตึกเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 3
วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ ผู้บริหารทางการพยาบาลของกลุ่มงานคลินิก สามารถ วิเคราะห์ภาระงานและบอกประสิทธิภาพของการบริหารอัตรากำลังของหอผู้ป่วยและหน่วยงานได้จากข้อมูลภาระงานในปีที่ผ่านมา กำหนดแผนการจัดอัตรากำลังของหอผู้ป่วย/กลุ่มงานคลินิกที่อยู่ในความรับผิดชอบให้สอดคล้องกับภาระงาน ตามแผนการจัดบริการ หรือ Service Plan ที่มีการปรับเปลี่ยน
ข้อมูลตัวชี้วัดการบริหารอัตรากำลังทางการพยาบาล ชั่วโมงการพยาบาลที่ต้องการ (Target NHPPD) ชั่วโมงทำงานของบุคลากรพยาบาลที่จัดให้ได้(Actual NHPPD) ผลิตภาพการบริหารอัตรากำลัง(Staffing Productivity) สัดส่วนบุคลากรวิชาชีพต่อบุคลากรที่ไม่ใช่วิชาชีพ (Staff mix ratio) การผสมผสานทักษะความสามารถทางการพยาบาล (Nursing Skill mix Team)/สภาการพยาบาล การผสมผสานทักษะความสามารถระหว่างสหวิชาชีพ (Multidisciplinary Skill mix Team)
แนวทางและตัวอย่างการวิเคราะห์ภาระงาน-ปรับอัตรากำลัง Adjust Staffing file 2008 Nursing Data base Model สำนักการพยาบาล เสนอตัวอย่าง วิเคราะห์ภาระงาน-ปรับแผนการจัดอัตรากำลัง IPD Acute Medicine ตึกอัษฎางค์ ชั้น 9-12 รวม 8 วอร์ด Neuro-Surgery ตึก72 ปี ชั้น 4 รวม 2 วอร์ด อ.น. 6 และปลูกถ่ายไขกระดูกเด็ก CCU อ.น.7 เสนอตัวอย่าง วิเคราะห์ภาระงาน-ปรับแผนการจัดอัตรากำลัง OPD เวชศาสตร์ฟื้นฟูและ ER
Workshop การวิเคราะห์ภาระงานและแผนการปรับอัตรากำลัง กลุ่มการพยาบาลจักษุ โสตฯ 1. IPD แบ่งเป็น วอร์ดจักษุ โสต จักษุและโสต 2. OPD คือ หน่วยตรวจโรคจักษุและหน่วยตรวจโรคหู คอ จมูก
การจัดอัตรากำลัง(Staffing/Workforce Plan) การวิเคราะห์ภาระงาน ภาระงาน (Workload Analysis) การจัดอัตรากำลัง(Staffing/Workforce Plan) UOS วันนอน ,visit Staffing Pattern ADC:Average Daily Census Staff mix and Skill mix Target NHPPD Actual NHPPD Target NH per visit Actual NH per visit Average LOS Admit/Discharge/ Turn over rate Variance RN hours provide/UOS Direct patient care hours Productive-Non-Nursing Workhours
การวิเคราะห์ภาระงาน ความถูกต้องของข้อมูลใน Template ที่ส่งมาให้ การวิเคราะห์ข้อมูลของแต่ละวอร์ด 3. ถาม-ตอบ
ประเด็นการปรับแผนอัตรากำลัง แผนการจัดบริการที่ปรับใหม่(New Service Plan) หรือแนวโน้ม ที่จะมีการปรับเปลี่ยน แบบแผนการจัดอัตรากำลังที่เป็นอยู่เหมาะสมหรือไม่ แผนเรียกอัตรากำลังเสริมและการเตรียมอัตรากำลังสำรอง ควรมีการปรับอัตรากำลัง อย่างไร หรือไม่ Staffing Pattern CNPG : One day Cataract จัดบริการแบบ Ambulatory Care Center Staff mix ควรเป็นอย่างไร Skill mix RN 1 2 3 4 ขาดตรงไหน จะเพิ่มอย่างไร ควรมี CNS APN NP Practitioners ทางตากี่คน 3-5 คน ?ให้ทำบทบาทหน้าที่อะไร ที่ไหน (1 ต่อคนไข้ 100 )
สรุปข้อเสนอแนะที่ได้จาก Workshop เพื่อให้ข้อมูลใน Template Definite ตามภาระงานจริง และ Fit for setting สรุปข้อเสนอแนะที่ได้จาก Workshop สรุปแนวโน้มภาระงานและการปรับบริการ กลุ่มจักษุ-โสตฯ 1. ภาระงานกลุ่มผู้ป่วยที่ทำหัตถการที่ OPD เพิ่มขึ้น 2. การจ่ายคืนระบบ DRG ทำให้หัตถการที่เคยทำใน OR ต้องเปลี่ยนมาทำที่ OPD แทนและมีแนวโน้มที่จะจัดบริการแบบ One day surgery การปรับTemplate และการวิเคราะห์อัตรากำลัง แยกห้องหัตถการออกจากหน่วยตรวจและคลินิก ทบทวน NH/visit ของผู้ป่วยหัตถการทุกกลุ่มให้เป็นมาตรฐานเดียวกันและพิจารณาปรับ พ.ต.ส.เป็นหน่วยตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ เติมช่อง part time(เวร)/OT(ชม.)ลงใน Template ทุกเวร Nursing Performance Improvement ควรพัฒนา CNPG ให้เชื่อมต่อกัน OP-OR-IP Streamline Care เช่น One day Cataract b) หัวหน้าหอผู้ป่วย/หน่วยงาน รายงานตัวชี้วัดการบริหารอัตรากำลัง วิเคราะห์ภาระงานและรายงานทุกไตรมาสโดยกรรมการบริหารของงานฯเป็นผู้ตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูล รายงานการปรับแผนการจัดบริการและการปรับอัตรากำลังที่ดำเนินการ(ดังตัวอย่างที่ส่งมา)
The Six Steps Workforce Plan are: Step 1: Defining the plan Step 2: Mapping service change Step 3: Defining the required workforce Step 4: Understanding workforce availability Step 5: Planning to deliver the required workforce Step 6: Implement, monitoring and refresh.