งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การคิดค่าภาระงานทางการพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การคิดค่าภาระงานทางการพยาบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การคิดค่าภาระงานทางการพยาบาล
23 ธันวาคม 2552 รวีวรรณ เล็กวิลัย พยาบาลวิชาชีพ 7

2 ประเด็นการพูดคุย เนื้อหาการบริหารอัตรากำลังประจำวัน, การคิดค่าภาระงาน, แนวทางการเก็บข้อมูล ประชุมกลุ่ม 1) กลุ่มงานผู้ป่วยนอก/หน่วยตรวจพิเศษ, กลุ่มงานผู้ป่วยใน/หนัก :เพื่อหาค่า K1 (productivity) 2) กลุ่มงานสนับสนุน: IC, ผู้ช่วยหัวหน้าพยาบาล :เพื่อหาค่า K2 (การปฏิบัติหน้าที่ที่มีภาระงานที่หนัก/รับผิดชอบสูง) 3) คณะฯบริหารบุคลากรทางการพยาบาล, คณะฯ สารสนเทศ,เวชระเบียน, ICT, สำนักยุทธฯ, ศูนย์สารสนเทศข้อมูล :เพื่อหาแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูล

3 ความสำคัญ Budgeting รพ. มี Treat-งบประมาณจำกัด = ควบคุมรายจ่าย, เพิ่มรายได้ รายจ่าย (Costs) = LC(~40%)1 + MC + CC Nursing Personal = Largest (~30%*)1,2 single operating cost *direct inpt care cost = 44%2 1 2 Welton,J.M.,Dismuke,E.C. Testing an inpt Nursing Intensity Billing Model. Policy,Politics.

4 Budgeting3 กำหนดเป้าหมาย productivity (90-110%)
คาดการณ์ภาระงาน = จน. unit of service (Total unit of service x Unit cost = ~รายได้โดยรวม) กำหนดงบประมาณรายจ่ายชม.การพยาบาลต่อ1unit of service ;~ % รายได้ = Total nursing care (direct + indirect)cost/วันทำการ/total unit of service = งบประมาณ ค่าแรงทางการพยาบาลต่อหนึ่งunit of service วางแผนชม.ที่ไม่ได้งาน : 14% of productive hrs. ประมาณการณ์ต้นทุนวัสดุ +ลงทุน 3 Swansburg, R.C. (1997). Budgeting and Financial Management for Nurse Managers. Jones and Bartlett Publishers: Massachusetts.

5 การบริหารอัตรากำลังประจำวัน
สรุปผลการศึกษาภาระงานกลุ่มการพยาบาลปีงบ 52 โครงการวิจัยเรื่องผลการใช้รูปแบบการจัดสรรอัตรากำลัง ประจำวันแบบยึดหยุ่นต่อประสิทธิผลของหน่วยบริการ

6 เกณฑ์การกำหนดตำแหน่งในสายงานพยาบาล 8
กำหนดขนาดหอผู้ป่วยมาตรฐานเพื่อนับปริมาณงาน = unit of service Unit of service ผู้ป่วยนอก = visit ของผู้ป่วย + ผู้รับบริการไม่จำแนกสาขา และมีหน่วยตรวจเฉพาะทาง ≥ 6 สาขาขึ้นไป สูตร: ผู้รับบริการเฉลี่ยต่อวัน = จำนวนผู้ป่วยนอกต่อปี/260 = เฉลี่ย 800 รายขึ้นไป/วัน ผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน สูตร: ผู้ป่วยอุบัติฉุกเฉินเฉลี่ยต่อวัน = ผู้ป่วยอุบัติเหตุ (ราย/ปี) + ผู้ป่วยฉุกเฉิน (ราย/ปี)/365 = เฉลี่ย 45 ราย/วัน และถ้ามีผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉินเฉลี่ย 90 รายขึ้นไป อาจกำหนดได้อีก 1 ตำแหน่ง เกณฑ์การจำแนก Emergent ผู้ป่วยวิกฤต มีภาวะคุกคามชีวิต ต้องรับการรักษาพยาบาลทันที : Nsg Care hr 3.2 hr/case Urgent ผู้ป่วยวิกฤต แต่ไม่มีภาวะคุกคามชีวิต ต้องรับการรักษาพยาบาลภายใน 30 นาที Nsg Care hr 2.5 hr/case Non-Urgent ผู้ป่วยมีการเจ็บป่วยเฉียบพลัน แต่ไม่เร่งด่วน (Acut Illness' Non urgent) รอรับการรักษาได้ในระยะ 1-2 ชม. โดยมีการเฝ้าสังเกตอาการอย่างสม่ำเสมอ Nsg Care hr 1.0 hr/case Non Acute-Non Urgent ผู้ป่วยไม่มี่ภาวะเจ็บป่วยเฉียบพลันไม่เร่งด่วน Nsg Care hr 0.5 hr/case

7 เกณฑ์การกำหนดตำแหน่งในสายงานพยาบาล 8 (ต่อ)
ผู้ป่วยผ่าตัด สูตร: ผู้ป่วยผ่าตัดใหญ่เฉลี่ย/วัน = ผู้ป่วยผ่าตัดใหญ่รายต่อปี/260 = เฉลี่ย 10 ราย/วัน และต่อผู้ป่วยผ่าตัดใหญ่ทุก ๆ 20 ราย วิสัญญีพยาบาล สูตร: ผู้ป่วยผ่าตัดใหญ่ Under GA ราย/ปี/260 = เฉลี่ย 10 ราย/วัน และต่อผู้ป่วยผ่าตัดใหญ่ Under GA ทุก ๆ 20 ราย ผู้ป่วยหนัก: เตียงที่ใช้รับผู้ป่วยหนักแต่ละเตียงต้องมีอุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจครบทุกเตียง และภายใน ห้องต้องมีอุปกรณ์เครื่องช่วยชีวิตอย่างน้อย 4 ชนิด (Ventilator, Portable suction, Monitor or Portable EKG, Defibrillator, Hypo or Hyperthemia มีอัตราครองเตียง 8 เตียงไม่น้อยกว่า 80% (6 ราย/วัน) สูตร: ผู้ป่วยหนักเฉลี่ย/วัน = จน.วันนอนผู้ป่วยหนักใน 1 ปี /365

8 เกณฑ์การกำหนดตำแหน่งในสายงานพยาบาล 8 (ต่อ)
ผู้ป่วยใน: การกำหนดขนาดหอผู้ป่วย ward สามัญจน.เตียงไม่น้อยกว่า 30 เตียง และมีผู้ป่วยเฉลี่ย 24 ราย/วัน (80% ครองเตียง) = 1 หอ ward พิเศษ จน.ห้องไม่น้อยกว่า 12 เตียง และมีผู้ป่วยเฉลี่ย 10 ราย/วัน = 1 หอ ward พิเศษรวม จัดให้มี 4-5 เตียง/ห้อง จน. 6 ห้อง (30 เตียง) และมีผู้ป่วยเฉลี่ย 24 ราย/วัน = 1 หอ *มีผู้ป่วยในเฉลี่ยในแต่ละสาขาเฉพาะทางไม่น้อยกว่า 72 ราย/วัน กำหนด RN8 1 ตน.* สูตร: จน.วันนอนผู้ป่วยในแต่ละสาขาใน 1 ปี /365

9 การคิดค่า K1 - กำหนดหน่วยของบริการ = unit of service เป็นหน่วยนับปริมาณงานของแต่ละ หน่วยบริการ - ตกลงเกณฑ์การจำแนกประเภทผู้ป่วย - เก็บข้อมูลภาระงานและอัตรากำลังที่ขึ้นปฏิบัติงาน - วิเคราะห์ข้อมูล productivity (Output/input) และจ่ายค่าตอบแทน วิธีการเก็บข้อมูล กรณีนับจำนวนราย visit OPD ให้นับ ณ เวลาที่สิ้นสุดบริการในแต่ละวันรวมกัน กรณีนับจำนวนวันนอน IPD ให้นับ ณ เวลา น. เวรบ่ายของแต่ละวันรวมกัน สูตร: ค่า K = จน. คนที่ต้องการ + 1 (Head)/ จน.คนที่มีอยู่จริง IPD = (ADC *NHPPD*1.4*1.2) /7 OPD = ADC/50 *1.2

10 การกำหนด K2 ระดับ 1 (K=0.5) : หัวหน้าหอผู้ป่วย/หัวหน้าหน่วยงาน ICN และพยาบาลที่ทำหน้าที่ควบคุม และพัฒนาคุณภาพหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นแกนหลักของคณะกรรมการสำคัญของโรงพยาบาล ระดับ 2 (K=0.75) : หัวหน้างานเฉพาะทาง/ผู้ช่วยหัวหน้างานเฉพาะสาขา ระดับ 3 (K=1) : หัวหน้าพยาบาล

11 สรุปผลการประชุม จำนวนผู้เข้าอบรม 46 ท่าน ทุกฝ่ายได้พูดคุยทำความเข้าใจประเด็นการบริหารอัตรากำลังทางการพยาบาลประจำวันและปัญหาการจัดเก็บข้อมูลภาระงาน

12 การบ้าน จัดประชุมครั้งหน้า 13 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุมพงษ์ศักดิ์ เทียมสะอาด เพื่อหาข้อสรุปค่า K1, K2 และการจัดเก็บข้อมูลการบริหารอัตรากำลังทางการพยาบาลรายเวร รายวัน


ดาวน์โหลด ppt การคิดค่าภาระงานทางการพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google