“มาเช็คอุณหภูมิความสุขของชาวศาลายากันเถอะ”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
สวัสดี ทุกคน !.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจของบุคลากร ที่มีต่อการให้บริการ ของบุคลากรสายสนับสนุน สำนักงานเลขานุการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
โครงการวิจัยเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชากร ในประเทศกำลังพัฒนา
เขียนบทความวิจัยส่งอย่างไร
R2R เพื่อการพัฒนางานของเรา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 8.
หลักการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ผลงานที่ไม่เคยเก็บตัวชี้วัด
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ทีมผู้ป่วยนอก พฤษภาคม. สถานการณ์ P SO ทีมผู้ป่วยนอก.
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผู้วิจัย นายสุวัฒน์ สุริยาวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
ผู้วิจัย นายไพบูลย์ ว่องวารี
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.


วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
จัดทำโดย จรัสศรี ดอนชัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ทัศนคติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
***นำเสนอผลงานวิจัย***
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
การวัดและประเมินผล.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
ความพึงพอใจของนายจ้างต่อบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“มาเช็คอุณหภูมิความสุขของชาวศาลายากันเถอะ” วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ทำการวิจัยเรื่อง การศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขต ศาลายา เพื่อสำรวจดูสารทุกข์สุขดิบของน้องๆ เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตใน การเรียนทั้งหมด 5 ด้านที่มีผลต่อการเรียน และรับฟังข้อเสนอแนะ จากน้องๆ เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการเรียน ด้านต่างๆ ให้ดียิ่งขึ้น อย่างรู้แล้วใช่ไหมว่าอุณหภูมิความสุขของคุณภาพชีวิต ในการเรียนแต่ละด้านของพวกเราเป็นอย่างไรจากคะแนนเต็ม 5

1. คุณภาพชีวิตในการเรียนด้านกายภาพ : ห้องนู้นห้องนี้ 4 5 3 2 3.45 X ผลการตรวจเช็คพบว่าน้องๆ พึงพอใจต่อคุณภาพชีวิตด้านกายภาพ หรือ สถานที่ต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยอยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.45) แต่ด้านสภาพ แวดล้อมและบรรยากาศที่ร่มรื่นของมหาวิทยาลัยได้คะแนนดีมาก ( = 3.82) X

2. คุณภาพชีวิตในการเรียนด้านการเรียนการสอน : เรียนสนุก “คะแนนด้านการเรียนการสอนอยู่ในเกณฑ์ดีมาก โดย 5 อันดับแรกที่ได้คะแนนสูงสุดคือ” ดีมาก (3.71) ประเด็น ค่าเฉลี่ย 1. เราพร้อมสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยบรรลุเป้า หมายติดอันดับ 1 ใน 100 ของมหาวิทยาลัยโลก 4.40 2. มหาวิทยาลัยสามารถติดอันดับ 1 ใน 100 ของมหาวิทยาลัยโลก 4.14 3. มหาวิทยาลัยมีสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย 3.88 4. เรามีโอกาสได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 3.76 5. เนื้อหาวิชาที่ได้รับตรงกับความคาดหวังของท่าน

3. คุณภาพชีวิตในการเรียนด้านจิตใจ : สุขใจสบายจิต “คะแนนด้านจิตใจอยู่ในเกณฑ์ดีมาก โดย 5 อันดับแรกที่ได้คะแนนสูงสุดคือ” ดีมาก (3.84) ประเด็น ค่าเฉลี่ย 1. เราภาคภูมิในที่ได้เป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย มหิดล 4.50 2. เราเชื่อมั่นว่าจะเรียนจบได้ในเวลาที่กำหนด 3.99 3. เมื่อเรียนจบเรามีโอกาสหางานที่ดีทำได้ 3.92 4. เราสามารถแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี 3.76 5. เราสามารถจัดการกับความเครียดของตนเองได้ อย่างเหมาะสม

4. คุณภาพชีวิตในการเรียนด้านสังคม : สายใยสัมพันธ์ 1 4 5 3 2 3.62 X X ผลการตรวจเช็คพบว่าน้องๆ พึงพอใจต่อคุณภาพชีวิตด้านสังคม หรือ ความสัมพันธ์กับบุคคลต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.62) แต่ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนได้คะแนนอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ( = 3.78) X X

5. คุณภาพชีวิตในการเรียนด้านสุขภาพ : อยู่ดีมีสุข 1 4 5 3 2 3.44 3.44 3.49 3.48 X ผลการตรวจเช็คพบว่าคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของน้องๆ น่าเป็นห่วงที่สุด เพราะได้คะแนนน้อยที่สุด ( = 3.44) ดังนั้นน้องๆ อย่าลืมให้ความสำคัญกับการ ดูแลเรื่องสุขภาพทั้งในเรื่อง อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ดี อนามัยดี ด้วยนะครับ X

ผลสำรวจอื่นๆ ที่น่าสนใจ วิธีที่เพื่อนๆ ใช้ในการคลายเครียดจากการเรียน

ผลสำรวจอื่นๆ ที่น่าสนใจ วิธีที่เพื่อนๆ จะช่วยสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยมหิดล บรรลุเป้าหมายติดอันดับ 1 ใน 100 มหาวิทยาลัยโลก

มาค้นคว้าเพิ่มเติมได้ที่ห้องสมุดของวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล “หากเพื่อนๆ คนใดสนใจที่จะศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลการวิจัยนี้ ขอเชิญ มาค้นคว้าเพิ่มเติมได้ที่ห้องสมุดของวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ยินดีต้อนรับค่ะ”