โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานซ่อมบำรุง
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
โครงการ พัฒนาการจัดเก็บและค้นหาเอกสาร ส่วนบริหารกิจการจัตุรัสจามจุรี
การเพิ่มประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการบริหารจัดการข้อมูล
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
บริการข้อมูลออนไลน์จากศูนย์สารสนเทศนานาชาติ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ของแผนกบริการตำราและห้องสมุด
แผนกบริหารสินค้า (หนังสือไทย) ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการดูแลรักษาและซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (PC)
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
โครงการ ขอเอกสารสำคัญได้ภายใน 1 วัน
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
กลุ่ม CU_REGISTRAR_FB
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
2.2 สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ.ศ.2554 (ประเภทโครงการใหม่ที่พัฒนาหน่วยงาน)
โปรแกรมสำหรับออกรหัสประเภทกิจกรรม (Activity Type)
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
ปรู๊ฟทันใจ โครงการ แผนกลูกค้าสัมพันธ์
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
โครงการ ตรวจเช็คเพื่อความปลอดภัย
ถุงเงิน ถุงทอง.
การนำเสนอโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ในฝ่ายการพัสดุ
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการกระบวนการจัดทำสัญญาเพื่อให้ผู้เช่าลงนาม ให้แล้วเสร็จ
โครงการ ถาม-ตอบอัจฉริยะ
ประเภทโครงการ Cross Function/Lean เครือข่ายวิชาชีพ ทีมบริหารสินค้าต่างประเทศ ทีมบัญชีเจ้าหนี้ต่างประเทศ ทีมขายสาขา ม.นเรศวร ทีมขายสาขา มทส.
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
โครงการ : ลดระยะเวลาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
โครงการเพิ่มช่องทางการเข้าถึง เครือข่าย CUNET จากเครือข่าย ภายนอกจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่ม IT919.
โครงการพัฒนาคุณภาพงานด้วยแนวคิด Lean
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
กองบัญชี สำนักการคลัง รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ในมิติที่ 2
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
1. ปรับปรุงคณะทำงานให้ครอบคลุมทุกหน่วยงาน 2. ปรับการทำงานให้สอดคล้องกับนโยบายของ สำนักและกรม ฯ 3. สรุปบทเรียนการทำงาน ปี จัดทำแผนการปฏิบัติงานปี

การประชุมส่วนงานทส. หมวด 4 การประชุมส่วนงานทส. หมวด 4 (IT 6 แผนพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงของระบบ ข้อมูลและสารสนเทศ ) ครั้งที่ 1/2554 วันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เครื่องมือการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ส่วนวิชาการและมาตรฐานการศึกษาท้องถิ่น สำนักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ.ศ.2554 (ประเภทโครงการ Cross Function/Lean) โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร จัดทำโดย กลุ่ม New Entry - Easy Life สำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หน่วยงานที่ร่วมในทีม ประธานกลุ่ม นางรุ่งทิวา ปรีชาไว ผู้จัดการส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยงานที่ร่วมในทีม ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ แผนกวางแผนและงบประมาณ แผนกพัฒนาคุณภาพ

กระบวนการที่นำมาพัฒนา (VSM) กระบวนการแจ้งเตือน รวบรวม ติดตาม และรายงานผลการดำเนินงานตามเครื่องชี้วัด

ที่มา/มูลเหตุจูงใจของโครงการ 4.1 สภาพปัญหา การรายงานผลการดำเนินงานตาม KPI ของสำนักงานฯ ที่ผ่านมา มีลักษณะ ดังนี้  ผู้รับผิดชอบ KPI ไม่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ จึงทำให้ไม่สามารถกรอกข้อมูลได้ครบถ้วน และไม่ทันตามกำหนด ตลอดจนต้องรายงานผลการดำเนินการเรื่องเดียวกัน ในแบบฟอร์มที่แตกต่างกัน  ผู้รับผิดชอบในการรวบรวมผลงานตาม KPI (แผนกวางแผนและงบประมาณ) ต้องใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลซ้ำอีกครั้งหนึ่ง

ที่มา/มูลเหตุจูงใจของโครงการ (ต่อ) 4.2 ผลที่เกิดขึ้น  ต้องใช้เวลาในการรวบรวมตัวชี้วัดจนนำเสนอผู้บริหารค่อนข้างมาก ประมาณ 53 วัน (P/T = 19 วัน) (D/T = 34วัน)  ข้อมูลที่รายงาน ขาดความสมบูรณ์ และไม่เป็นระบบ โดยหน่วยงานต่างๆ รายงานผลการดำเนินงานตาม KPI มาประมาณร้อยละ 35  ข้อมูลที่นำเสนอยังไม่ได้เป็นข้อมูลเชิงบริหาร ผู้บริหารจึงต้องใช้เวลาในการพิจารณามาก รวมทั้ง ไม่สามารถให้ความเห็นในการดำเนินงาน (Feedback) แก่ผู้รับผิดชอบ KPI ได้ทันการ

เป้าหมายและตัวชี้วัด 1. ระยะเวลาการรวบรวมตัวชี้วัดจนนำเสนอผู้บริหาร ภายใน 10 วัน เป้าหมาย 70 % 2. อัตราความครบถ้วน ถูกต้องของตัวชี้วัด เป้าหมาย 70 % 3. การนำเสนอในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น กราฟ เป็นต้น

สรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (ก้างปลา)

สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ จัดหาระบบ IT เข้ามาช่วยในการจัดเก็บข้อมูลและประมวลผล เมื่อวันที่ 14 มิ.ย.54 ลงนามใน MOU กับคณบดี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี เพื่อขอใช้ระบบการจัดการข้อมูลตัวชี้วัด ยุบรวมแบบฟอร์มให้เหลือเพียงแบบฟอร์มเดียว และกำหนดให้รายงานผลในครั้งเดียวกัน จัดทำ KPI Dictionary เพื่อกำหนดความหมาย วิธีการเก็บข้อมูล และเกณฑ์การคำนวณ ฯลฯ ให้ผู้บังคับบัญชาทุกหน่วยงานมอบหมายผู้รับผิดชอบ สร้างช่องทางในการสื่อสารรับ –ส่งข้อมูลข่าวสาร โดยกำหนดให้มีเพียงช่องทางเดียว

ผลลัพธ์ของการพัฒนา ผลการปรับปรุง 1. ทดลองนำร่อง 8 หน่วยงาน ได้แก่ ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ แผนกพัฒนาคุณภาพ แผนกวางแผนและงบประมาณ แผนกพัฒนาธุรกิจ แผนกบัญชี แผนกการเงิน แผนกกฎหมาย และแผนกธุรการ 2. จัดทำ KPI Dictionary แล้วเสร็จ

ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ (ข้อมูลเปรียบเทียบรายเดือน หรือ ก่อนและหลังการปรับปรุง) เป้าหมาย ผลลัพธ์ก่อนทำ ผลลัพธ์หลังทำ คิดเป็น(%) 1.ระยะเวลาการรวบรวมตัวชี้วัดจนนำเสนอผู้บริหาร ภายใน 10 วัน 70 % 53 วัน 7 วัน 86.79% 2. อัตราความครบถ้วน ถูกต้องของตัวชี้วัด - 80%* 3. การนำเสนอในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น กราฟ เป็นต้น นำเสนอในรูปแบบตารางแสดงข้อมูล นำเสนอในรูปแบบตาราง และกราฟแสดงข้อมูล * เป็นจำนวน KPI จากหน่วยงานที่ทดลองนำร่อง 8 หน่วยงาน จำนวน 73 KPI จาก 185 KPI

ตัวอย่างแผนภูมิแท่งแสดงแผนและผลของตัวชี้วัดประจำปี...

ตัวอย่างแผนภูมิเส้นแสดงแผนและผลของตัวชี้วัดประจำปี...

ตัวอย่างแผนภูมิวงกลมแสดงแผนและผลของตัวชี้วัดประจำปี... ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4