แบบของการเพิ่มประชากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

ประชากร umaporn.
ENVIRONMENTAL SCIENCE
กลไกการวิวัฒนาการ.
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Physiology of Crop Production
การจัดการหนอนใยผักแบบบูรณาการ
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
ประชากร (Population) Gajaseni, 2001.
นิเวศวิทยาและพฤติกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นันทนา คชเสนี
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
Ecological Balance Ecosystem Homeostatic System
ระบบนิเวศ (Ecology) Gajaseni, 2001.
ถาม สารอาหารหมุนเวียนในระบบนิเวศอย่างไร?
ผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สรุป เนื่องจากดูเหมือนว่าสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนดลักษณะการกระจายของพืชพรรณ ดังนั้นถ้าบริเวณใดมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมเหมือนที่เกิดขึ้นตามเส้นรุ้ง ก็น่าจะมีลักษณะของพืชพรรณเหมือนกันด้วย.
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
BIO-ECOLOGY 2.
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
หลักการเกิดโรค สุวัสสา เพ็งสีแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
คุณภาพชีวิต.
INTRASPECIFIC COMPETITION : การเเก่งเเย่งภายในชนิดเดียวกัน
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่ 1 บทนำ(Introduction)
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
ระบบนิเวศสิ่งแวดล้อม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
Ecology.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
การแพร่กระจายของประชากร (Dispersion)
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
ดินถล่ม.
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
Charles Darwin เป็นนัก ธรรมชาติวิทยาได้เดินทางไปสํารวจ และทําแผนที่ของฝั่งของทะเลทวีป อเมริกาใต้ Darwin ได้ประสบการณ์ จากการศึกษาพืชและสัตว์ที่มีอยู่
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ประชากร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบของการเพิ่มประชากร 1. Exponential Growth - การเพิ่มประชากรเป็นแบบทวีคูณ - J-shape curve (exponential) - ไม่มีขีดจำกัด ( แต่ในธรรมชาติ ทั้งอาหารและพื้นที่อาศัยมี ปริมาณจำกัด) 2. Logistic Growth - มี carrying capacity (K) - S-shape curve (sigmoid) - เข้าสู่ steady state = zero population growth Gajaseni, 2001

Application Pest control “ลดประชากร หรือ ลด carrying capacity?” Gajaseni, 2001

Fig 33.9 J shape ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากรขึ้นกับ อัตราเพิ่มประชากรที่เป็นความสามารถของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ เพียงอย่างเดียว ไม่มีอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมมาเกี่ยวข้อง Gajaseni, 2001

กราฟที่ 40 Gajaseni, 2001

fig 33.10 Gajaseni, 2001

รูปแบบการเพิ่มประชากรในธรรมชาติ 1. Modification of Exponential Growth 2. เหมือน Logistic Growth 3. Modification of Logistic Growth - Fluctuation ที่ Carrying capacity - เมื่อ N > K : K-N < 0 dn < 0 ( ) K dt - เมื่อ N < K : K-N > 0 dn > 0 ( ) Gajaseni, 2001

Population Control Mechanism 1. Density - Independent Control - กระบวนการควบคุมที่ไม่ขึ้นกับความหนาแน่น - สภาพแวดล้อมที่แปรปรวน - สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ช่วงอายุสั้น สืบพันธุ์เร็ว จำนวน ลูกมาก - Non - Dynamic Steady State Gajaseni, 2001

ปัจจัยที่ควบคุม ปัจจัยกายภาพ ปัจจัยชีวภาพ สภาพดินฟ้าอากาศ ภูเขาไฟระเบิด น้ำท่วม แผ่นดินไหว ฝน ไฟป่า ปัจจัยชีวภาพ ผู้ล่ามีผลต่อประชากรของ Phytoplankton หรือ Zooplankton Gajaseni, 2001

2. Density - Dependent Control - กระบวนการควบคุมที่ขึ้นกับความหนาแน่น - สภาพแวดล้อมค่อนข้างคงที่ - สิ่งมีชีวิตช่วงอายุยาว สงจรชีวิตซับซ้อน จำนวน ลูกมาก พ่อแม่ดูแล - Dynamic Steady State Gajaseni, 2001

ปัจจัยที่ควบคุม เกี่ยวข้องกับทรัพยากรที่มีผลต่อการดำรงชีวิต 1. Predation & Parasitism Predator Control / Chemical Control 2. Intraspecific Competition 3. Interspecific Competition 4. Emigration Solitary Phase Migratory Phase 5. Physiological Mechanism Gajaseni, 2001

ปัญหา ในธรรมชาติสิ่งมีชีวิตไม่จำเป็นต้องอยู่ในสถานะของสิ่งแวดล้อมในช่วงที่เหมาะสมที่สุดทางสรีระวิทยา กราฟ5-3 Gajaseni, 2001

ความหนาแน่น การเกิด การตาย การอพยพกระจาย ปัจจัยภายนอก (Extrinsic factors) - ปัจจัยทางกายภาพและเคมี - การล่า - ตัวเบียฬ - เชื้อโรค - อาหาร (ปริมาณและคุณภาพ) - ที่อยู่อาศัย ฯลฯ ปัจจัยภายใน (Extrinsic factors) - สภาพทางสรีรวิทยา - พฤติกรรม (โดยเฉพาะพฤติกรรม ทางสังคม) - กรรมพันธุ์ Gajaseni, 2001

Population Growth Strategies วิวัฒนาการ 2 แบบ ขึ้นกับ r - Selection Strategies - เกิดในกลุ่มของ gene เป็นพวก ที่เลือกปริมาณ - สิ่งแวดล้อมรุนแรง คาดการณ์ไม่ได้ - อัตราการเกิด และ/หรือ การสืบพันธุ์สูง - ถูกควบคุมด้วยปัจจัยที่ไม่ขึ้นกับ ความหนาแน่น K - Selection Strategies - เกิดในกลุ่มของ gene เป็นพวก ที่เลือกคุณภาพ - สิ่งแวดล้อมค่อนข้างคงที่ การเปลี่ยน แปลงน้อย คาดการณ์ได้ - ประชากรอยู่ใกล้เคียงกับ Carrying capacity - อัตราการเกิด และ/หรือ การสืบพันธุ์ต่ำ Gajaseni, 2001

ภาพ Gajaseni, 2001

กลยุทธการสืบพันธุ์ r - selection K - selection จำนวนลูกที่เกิด มาก น้อย จำนวนครั้งที่แต่ละตัวสืบพันธุ์ 1 ครั้ง หลายครั้ง ขนาดของลูก เล็ก ใหญ่ พัฒนาการของลูก เร็ว ช้า การเลี้ยงดูลูก เล็กน้อย ใกล้ชิด ช่วงอายุขัย สั้น ยาว Survivorship curve Type III Type I พลังงานที่ใช้ในการสืบพันธุ์ สูง ต่ำ พลังงานที่ใช้ในการเพิ่มขนาด ต่ำ สูง Gajaseni, 2001

ตารางรูปแบบความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น ระหว่างสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด Gajaseni, 2001