นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

ทำไมต้องอบรม ? การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้(Social Network)
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กิจกรรมสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการประจำส่วนงาน
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
“การประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
Work Shop การพัฒนาหลักสูตรสำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครู.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
รายละเอียดของรายวิชา
มองอนาคตอุดมศึกษาไทย
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
แผนการขับเคลื่อน กรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
หน่วย การเรียนรู้.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
ข้อเสนอยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ เขตภาคกลาง 2554 จิรวัฒน์ วีรังกร.
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
1 การปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ วิทยาลัยชุมชน : ทางเลือกอุดมศึกษาเพื่อ ปวงชน ”
ขวา ซ้าย.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ในอุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช กรรมการบริหารสถาบันคลังสมองฯ นำเสนอในการประชุมเพื่อนําเสนอผลจากการดําเนินงานตามโครงการปฎิบัตกิ าร ภายใต้หลักสูตรคณบดีเพื่อการเปลี่ยนแปลงรุ่น.
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา วิจารณ์ พานิช ประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา บรรยายในการประชุมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ: นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและบทบาทของผู้บริหารยุคใหม่” วันที่ 18 สิงหาคม 2552 ณ ห้องคอนเวนชั่น A – B โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ สุขุมวิทย์ ซอย 11 กรุงเทพมหานคร

ทิศทางที่ยิ่งใหญ่ของอุดมศึกษา แหล่งเอื้ออำนวยให้พลังปัญญา ความงาม ความดี จินตนาการ มาร่วมสร้างสรรค์ เพื่อสังคมปัจจุบัน สู่อนาคต ร่วมกับภาคส่วนอื่นๆ ของสังคม เชื่อมโยงเป็นเนื้อเดียวกัน มีการจัดการระบบ กำกับดูแลระบบ มีอิสระ และอยู่ใต้การตรวจสอบของสังคมภาพรวม ปีแห่งคุณภาพอุดมศึกษา ๒ ก.ค. ๕๒

เป้าหมายของระบบอุดมศึกษาไทย ภูเขาหลายลูก หลายยอด ไม่เอามารวมเป็นลูกเดียวกัน มียอดที่เน้นเป็น local player, national player, international player วัดความสำเร็จต่างกัน บัณฑิตต่างมาตรฐาน/เป้าหมาย แต่ได้ “มาตรฐาน” ผลงานวิชาการต่างมาตรฐาน แต่มี “มาตรฐาน” ส่งเสริม mobility ของ อจ. นศ. เชื่อมโยงกับ “ภาคชีวิตจริง” หลากหลายแบบ แตกต่าง หลากหลาย ได้ “มาตรฐาน” การประชุม กกอ. ๑/๒๕๒๕ ๘ ม.ค. ๕๒

จัดการระบบ “ภูเขา ๔ ลูก” ระบบความเป็นเลิศของ วชช. ระบบความเป็นเลิศของ ม. เฉพาะทาง ม. เน้นผลิตบัณฑิต ป. ตรี ม. วิจัย และบัณฑิตศึกษา ๔ ยอด มีความเป็นเลิศ/ความท้าทาย ๔ แบบ ปรับปรุงจาก ปีแห่งคุณภาพอุดมศึกษา ๒ ก.ค. ๕๒

เป้าหมายของการอนุมัติให้ใช้ TQF เพื่อให้อุดมศึกษามีสมดุลระหว่าง autonomy กับ accountability ต่อสังคม มีระบบ TQF ช่วยให้สถาบันอุดมศึกษา มี accountability ด้านคุณภาพได้ง่ายขึ้น เน้น accountability ด้านคุณภาพ http://gotoknow.org/blog/council/256121 กกอ. ๕/๒๕๕๒ ๗ มิ.ย. ๕๒

หลักการสำคัญของ TQF เน้นการกำหนด Learning Outcomes เน้นการประเมินตนเอง (Internal Evaluation) ตาม Learning Outcomes ดำเนินการร่วมกันในแต่ละสาขา แต่ละกลุ่มของสถาบันอุดมศึกษาเอาไปจัดจุดเน้น/จุดเด่น ของตน (เห็นด้วยไหม)

Learning Outcomes 5 (6) ด้าน คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล & ความรับผิดชอบ การวิเคราะห์ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Skill)

คุณวุฒิ 6 (7) ระดับ อนุปริญญา ปริญญาตรี ป. บัณฑิต ปริญญาโท ป. บัณฑิตชั้นสูง ปริญญาเอก หลังปริญญาเอก

คุณวุฒิ 2 สาย สายวิชาการ (วิจัย) สายวิชาชีพ

หลักการสำคัญ ดูคุณภาพที่ Learning Outcomes แต่ละสาขาวิชากำหนด & กำกับกันเอง ร่วมกันสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ เป็นการให้ autonomy / deregulate โดยมีกลไกให้มี accountability ด้านคุณภาพ เป็นกระบวนการพัฒนาเป็นวงจรที่ไม่รู้จบ สกอ. ส่งเสริม โดยการประกาศหลักสูตรที่ได้มาตรฐาน TQF