รายงาน เรื่อง เด็กปลอด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

(District Health System)
การประชุมมอบนโยบายด้านคุณภาพของนักเรียน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง
แนวทางการบูรณาการ อพม.กับโครงการพัฒนาตำบลต้นแบบ
รายงานเรื่อง เด็กปลอด
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
นโยบาย สพฐ. ปี
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
การนำข้อมูลอุบัติเหตุ สู่ Action
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
(District Health System)
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานการควบคุมภายใน
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
การปลูกพืชผักสวนครัว
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงาน เรื่อง เด็กปลอด จัดทำโดย เด็กชายศรัญญู วงษ์ไกร ชั้น ม.3/2 เลขที่ 14 เสนอ ครูทัศนีย์ ไชยเจริญ ครูศราวุธ ไชยเจริญ

โครงการเด็กปลอด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัย หมายถึง ศูนย์เด็กเล็กที่มีการจัดการเรื่องความปลอดภัยด้วยการค้นหาปัญหา และ ปัจจัยเสี่ยงของการบาดเจ็บ การเฝ้าระวังการบาดเจ็บ พฤติกรรมเสี่ยง สิ่งแวดล้อมเสี่ยง และ วางแผน-ดำเนินการแก้ไข      

วัตถุประสงค์ที่จัดตั้งโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัย 1.ลดการตาย พิการ และการบาดเจ็บของเด็กในศูนย์เด็กเล็ก     2.ส่งเสริมความเสมอภาคของเด็กในการเจริญเติบโต และโอกาสของการได้รับการส่งเสริมให้มีพัฒนาการที่ดี     3.เชื่อมโยงเครือข่ายการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาความปลอดภัยในศูนย์เด็กเล็ก      

กิจกรรม กิจกรรม ในโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัย เกิดจากการใช้ทักษะในการคิดค้นนวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา และป้องกันการบาดเจ็บ และนำไปสู่การดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องที่ยั่งยืน ดังตัวอย่างกิจกรรมที่นำเสนอดังต่อไปนี้           1.กิจกรรมการเฝ้าระวัง และการวิเคราะห์ความเสี่ยง คือ การประชุมกลุ่มทำงานความปลอดภัยของศูนย์เด็ก รวมทั้งเครือข่ายผู้ให้ความสนใจ หลังจากที่เดินสำรวจจุดเสี่ยง ได้ร่วมวิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อแก้ปัญหาความไม่ปลอดภัยภายในศูนย์และบริเวณรอบ ๆ ศูนย์      

2.กิจกรรมการเดินทางปลอดภัย โครงการที่สนับสนุนการใช้หมวกนิรภัย ในเด็ก ให้ความรู้แก่ ผู้ปกครองสร้างนิสัยให้เด็กรักการใส่หมวกนิรภัยตั้งแต่วัยเยาว์ การนำเสนอปัญหา และการป้องกันแก้ไข เพื่อให้เด็กรักความปลอดภัยสอดแทรกในบทเรียน เช่น โครงการหมวกกันน๊อคของน้องหนู โดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในองค์การบริหารส่วนตำบลวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัยให้ลูก โดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว โครงการปกป้องสมองลูกน้อย โดย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 6 ศูนย์ฯ สังกัดกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ศูนย์ฯร่วมพัฒนาบ้านป่า ศูนย์ฯ คลองสะแก ศูนย์ฯ ดารุสซุนนี ศูนย์ฯ เกาะจวนซันประสิทธิ์ ศูนย์ฯ บดินทรเดชา ศูนย์บึงพระราม 9 บ่อ 3      

.1โครงการขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัยให้ลูก สอนเด็กๆ เรื่องการเดินทางปลอดภัยโดยการใช้หมวกนิรภัย ในบทเรียนให้เด็กๆ วาดภาพหมวกนิรภัยในฝัน จากนั้นมีการอบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง และมีหมวกนิรภัยให้ผู้ปกครองที่ต้องการให้บุตรหลานสวมหมวกนิรภัย ในการเดินทาง ยืมโดยต้องทำสัญญายืมหมวก และมีข้อตกลงไว้กับศูนย์      

2.2โครงการปกป้องสมองลูกน้อย ดำเนินโครงการโดย ผู้บริหาร ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองได้รับความรู้เรื่องการบาดเจ็บต่อศีรษะอันตรายจาก ของเล่นประเภทขับขี่ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใส่หมวกนิรภัยในเด็ก และศูนย์เด็กมีหมวกนิรภัย สำหรับจักรยานและจักรยานยนต์ที่มีขนาดเหมาะสมสำหรับเด็ก ให้ผู้ปกครองสามารถยืมกลับบ้านได้ ผู้บริหารกำหนดเป็นนโยบายในการดูแลเด็กในศูนย์เมื่อเล่นเครื่องเล่นประเภทขับขี่ หรือเล่นเครื่องเล่นสนามจะต้อง สวมหมวกนิรภัยขณะเล่นทุกครั้ง ผู้ดูแลเด็กเก็บข้อมูลการบาดเจ็บ และติดตามพฤติกรรมการใช้หมวกของเด็ก      

กิจกรรม ใช้อุปกรณ์เสริมเพื่อความปลอดภัย เป็นกิจกรรมที่เกิดจากการใช้เครื่องมือเฝ้าระวังการบาดเจ็บ และได้ร่วมวิเคราะห์สาเหตุเพื่อแก้ไขปัญหา โดย ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ซึ่งจำเป็นต้องใช้ให้ได้ประโยชน์สูงสุด เพื่อความปลอดภัยของลูกหลาน เช่น งบประมาณขององค์กรส่วนท้องถิ่น หรืองบประมาณสำหรับพัฒนาศูนย์ เป็นหลัก       4.1ลูกกรง ราวระเบียงปลอดภัย     ลูกกรงราวระเบียง มีช่องห่างระหว่าง 9-23 เซนติเมตร ซึ่งอาจทำให้เด็กลอดช่องลูกกรงได้ จึงถูกแก้ไข ช่องห่างของลูกกรงไม่เกิน 9 เซนติเมตร

คำคม เราจะเห็น ตัวตนที่แท้จริง ของเพื่อนเรา ก็ตอนที่เรา ทุกข์ยาก เราจะเห็น ตัวตนที่แท้จริง ของคนที่บอก ว่ารักเรามาก ก็ตอนที่ ต้องมาลำบาก ด้วยกัน

บรรณานุกรม http://www.safedekthai.com/daycare/about.html