บทบาทเครือข่ายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ สถาบันอุดมศึกษาเขตภาคกลาง กับการเตรียมนักศึกษา ให้พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ดร.จิรวัฒน์ วีรังกร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

การพยาบาลผู้ป่วยและผู้ใช้บริการจากกลุ่มประเทศอาเซียน
ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
กิจกรรมสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
กิจการนิสิต (Student Affairs)
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา รอบที่3
สรุปกรอบการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
สรุปการดำเนินงาน คณะอนุกรรมการพัฒนา นักศึกษานอกชั้นเรียน คณะอนุกรรมการประสานกิจ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา เขตภาคกลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ ไทย.
ข้อเสนอยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ เขตภาคกลาง 2554 จิรวัฒน์ วีรังกร.
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การเตรียมความพร้อมของสาขาบริการสุขภาพ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
บทบาทของข้าราชการฝ่ายปกครองกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555 – 2559) รศ. โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
รศ.ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
หลักสูตรใหม่.... Knowledge กลุ่มความรู้ Knowledge Cluster 1. ภาษาและวัฒนธรรม Language and Culture 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ Science, Technology,
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทเครือข่ายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ สถาบันอุดมศึกษาเขตภาคกลาง กับการเตรียมนักศึกษา ให้พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ดร.จิรวัฒน์ วีรังกร

เครือข่ายบัณฑิตอุดมคติ คิดร่วมกัน แบ่งปันกัน ทำงานร่วมกัน ขับเคลื่อนร่วมกัน เป็นห่วงเป็นใยกัน มีสำนึกในข้อตกลงร่วม

เรามาค้นหาอนาคตร่วมกัน โลกเปลี่ยน : สังคมเปลี่ยน : วิถีชีวิตเปลี่ยน นิสิตนักศึกษารุ่นใหม่ : อนาคตประเทศ How to Adapt & Prepare ?

ศตวรรษที่ ๒๑ : ไร้พรมแดน

The influence of MEDIA and NEW TECHNOLOGY

Technology

A world of varying cultures.

Apssa ๒๐๑๒, Manila,Phillippines ความเป็นพลเมืองโลก (Global Citizenship)

๑ มกราคม ๒๕๕๘ ๑๐ ประเทศ รวมตัวเป็นหนึ่ง (๑๐ Countries BECOME ONE)

คำถามที่นักศึกษาต้องตอบได้ ประชาคมอาเซียน คือ อะไร ประชาคมอาเซียน มีกี่ประเทศ อะไร คือ วัตถุประสงค์ของประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน เริ่มตั้งแต่เมื่อไหร่ ประชาคมอาเซียน เกี่ยวข้องอย่างไร กับนักศึกษา ภาษากลางของประชาคมอาเซียน คือ ภาษาอะไร นักศึกษาควรเตรียมตัวอย่างไร

Common Understanding ประชาคมอาเซียน & NOT สมาคมอาเซียน A C เน้น “ความร่วมมือ” มากกว่า “แข่งขัน” A C รวมตัวกัน เพื่อสร้างอำนาจต่อรอง A C ทุกประเทศเปิดพรมแดนให้กัน

ASEAN Community Pluralistic Society

สัจจธรรมโลกยุคใหม่ Not see หนึ่งเชื้อชาติ หนึ่งศาสนา หนึ่งวัฒนธรรม But จะก้าวเข้าสู่สังคมแห่งการคละเคล้ากัน (Mix Culture) สังคมที่ต้องเข้าใจทั้งตนเอง ผู้อื่น (ศาสนา วิถีชีวิต วัฒนธรรม) เพื่อการยอมรับกัน

ASEAN ความหลากหลายทางศาสนา

Structure of the ASEAN Community ASEAN Community by 2015 เสาที่ 1 ประชาคมการเมือง และ ความมั่นคง ASEAN Political Security Community APSC ASEAN Economic Community AEC ASEAN Socio-cultural Community ASCC เสาที่ 2 ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน เสาที่ 3 ประชาคมสังคม และ วัฒนธรรม

ประชาคมการเมืองและความมั่นคง (สันติภาพ + ความมั่นคงในภูมิภาค) การเตรียมตัวของนักศึกษา ความเข้าใจ “ประชาคมอาเซียน” - การเมือง การปกครองที่แตกต่าง - ประวัติศาสตร์ที่แตกต่าง เรียนรู้ “ค่านิยมร่วม” ในอนาคต - หลักการประชาธิปไตย - สิทธิมนุษยชน - สันติวิธี - นิติธรรม ธรรมาภิบาล ความเข้าใจ “Asean Charter”

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) (Single Market & Production Based) การเตรียมตัวของนักศึกษา ยกระดับสมรรถนะนักศึกษาด้านวิชาชีพ ความสามารถในการทำงานที่หลากหลาย ความสามารถในการทำงานกับผู้คนต่างวัฒนธรรม

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม การเตรียมตัวของนักศึกษา Multi-Cultural Awareness : เมื่อเปิด AC แล้ว จะรักษามรดกทางวัฒนธรรม ของไทยได้อย่างไร การร่วมรักษามรดกทางวัฒนธรรม ของ Asean : การมองเห็นคุณค่า ความหลากหลายทางวัฒนธรรม การใช้ชีวิตร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม Asean Citizenship การสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษ / อาเซียน

A C : ความเกี่ยวข้องกับนักศึกษา  เท่าทัน Movement A C  ตลาดแรงงานที่เปิดกว้าง  ความเสี่ยงเนื่องจากการแข่งขันด้านการหางาน เพิ่มสูงขึ้น  การเพิ่มเติมสมรรถนะในตน  การเรียนรู้ก้าวข้ามพรมแดน  การทำงานร่วมกับบัณฑิตข้ามชาติ  การใช้ชีวิตภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม

A C : ความเกี่ยวข้องกับนักศึกษา  บัณฑิตที่เตรียมตัวดี : มีความรู้ดี มีความรู้ที่ หลากหลาย จะมีโอกาสด้านการมีงานทำเพิ่ม มากขึ้น และสามารถเลือกงานได้มากขึ้น  บัณฑิตที่ใช้ชีวิตแบบไม่เตรียมการ จะเผชิญ ภาวะเสี่ยงต่อการหางานทำยาก / ไม่มีงานทำ

ทักษะที่จำเป็นต้องเพิ่มเติม  ทักษะการคิด (คิดแบบคนมีโอกาส วิจารณญาน สร้างสรรค์ วิเคราะห์ การใช้เหตุผล)  ทักษะวิชาชีพ มาตรฐานสากล  ทักษะปฏิสัมพันธ์กับผู้คนข้ามวัฒนธรรม  ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ เพื่อ Daily Life และการทำงาน  ทักษะการทำงานร่วมกับผู้คนข้าม วัฒนธรรม  ทักษะการทำงานข้ามวัฒนธรรม

การเรียนรู้ที่จำเป็นต้องเพิ่มเติม  ตามทัน A C Movement  ข้อมูลประเทศเพื่อนบ้าน : วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ นิสัยใจคอ  Cross Cultural Understanding  การเรียนรู้อย่างมีเป้าหมาย  คุณธรรมแห่งยุคสมัย

คุณธรรมแห่งยุคสมัย NO คอรัปชั่น โปร่งใส / ตรวจสอบได้ พอประมาณ เพียงพอ: ภูมิคุ้มกัน เข้าถึง “ความจริง” รักษ์สิ่งแวดล้อม สันติวิธี เคารพศักดิศรีความเป็นมนุษย์ จิตสำนึกมนุษยธรรม

ทักษะชีวิตที่สำคัญสำหรับ นิสิตนักศึกษารุ่นใหม่ พัฒนาตนเองให้พร้อมที่จะดำรงชีวิต ภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม

ทักษะชีวิตภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม (ก้าวให้พ้นความแตกต่าง อยู่อย่างเข้าใจ) ปรับมุมมอง “ความหลากหลาย” เรียนรู้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม เคารพความหลากหลายของพหุวัฒนธรรม ในสังคมไทย เคารพความเป็นมนุษย์ (การปฏิบัติต่อผู้อื่น) เคารพกติกาการอยู่ร่วมกัน

ประเด็นความเสี่ยง  คุณภาพของคน - เสียเปรียบภาษา Eng & ความหลากหลาย ทางภาษา - ขาดความตระหนัก : ไม่ปรับตัว & เตรียมการ - EQ ความอดทนต่อความยุ่งยากลดลง - ประเด็นซื่อสัตย์ / รับผิดชอบ / มีวินัย ภาวะผู้นำ  ประเทศเพื่อนบ้าน กำลังเร่งปรับตัวและ เตรียมการ แต่ไทยยังขาดยุทธศาสตร์การ เตรียมคนที่มีความชัดเจน  Mindset ต่อประเทศเพื่อนบ้าน

บัณฑิตยุคใหม่ต้องพร้อมที่จะ เข้าสู่ ASEAN Free Market

การศึกษายุคใหม่ ทำให้ผู้เรียนคิดอย่างคนมีโอกาส ทำให้ผู้เรียนก้าวทันโลกที่เปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา ทำให้คนมีศักยภาพเพิ่มสูงขึ้นกว่าบัณฑิต ในอดีต พร้อมใช้ชีวิตภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม

จุดเด่น บัณฑิตไทย - อาเซียน ประเทศจุดเด่น Character ไทย ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิสัมพันธ์ เวียดนาม ลาว กัมพูชาวินัย อุดมการณ์ชาติ ความเป็นผู้นำ ASEAN Awareness สิงคโปร์ มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ การสื่อสารในเวทีสาธารณะ ความเป็นสากล สิงคโปร์ Ready to work all the world ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ ทักษะ ไอ ที

นักศึกษา ปี ๑ นักศึกษา ปี ๒ นักศึกษา ปี ๓ นักศึกษา ปี ๔ Education Awareness Education Future Career Education Practice Education Job Application Ready to Study Ready to live Goal Setting Student Citizenship Skill for Major Study Future Career View Career Personality Professional Ethics Thinking Skill Career Competency Leadership Skill Communication Skill Ready to Work Job Application Skill Social Responsibility Thai & Global Citizenship Quality Graduate Ready through Asean Community ดร.จิรวัฒน์ วีรังกร สร้างสรรค์

ข้อชวนคิด  เงินเดือนปริญญาตรี ๑๕,๐๐๐ บาท ต้องการ Highly Qualified Talent  คู่แข่งมิใช่มีแต่คนไทย ต่อไปมีคู่แข่ง เพิ่มเติมจากประเทศเพื่อนบ้าน สมรรถนะไม่เท่าเขา ก็ย่อมสู้เขาไม่ได้  Thai Company to Global Company  Global Company : Global Culture

Agenda : อุดมศึกษาภาคใต้ เตรียมนักศึกษายุคใหม่ ให้มีความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

ประเด็น Agenda เตรียมเสริมสร้างสมรรถนะ พร้อมสู่ Asean Community เตรียมระบบดูแลและช่วยเหลือนักศึกษา เตรียมพัฒนาบุคลากร เตรียมนักศึกษา (Student Engagement) สร้างบรรยากาศสถาบัน

พัฒนา นักศึกษา : Challenge Issue How to engage the students for awareness Asean Community ? How to develop SA ? (Student Service & Student Development) How to develop Student Leadership How to engage multi-cultural awareness? How to engage Thai Citizen and Asean Citizenship ?

ทิศทางใดที่เราจะก้าวเดิน

กลไกการพัฒนานักศึกษา หลักสูตร การเรียนการสอน อาจารย์ที่ปรึกษา สภาพแวดล้อมสถาบัน กิจกรรมนักศึกษา กิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักศึกษา วินัยนักศึกษา

งานกิจการนักศึกษา ศตวรรษที่ 21 (เตรียมนักศึกษายุคใหม่สู่ A C) สร้างความรู้เท่าทัน Asean Movement Engage นักศึกษา ตระหนัก & เตรียมการ สร้างประสบการณ์การเรียนรู้วัฒนธรรมข้ามชาติ สร้างวิสัยทัศน์ด้านโลกกว้างทางการศึกษาและอาชีพ สร้างลักษณะนิสัยการอยู่ร่วมกันที่ดีภายใต้สังคม พหุวัฒนธรรม เสริม เติม เต็ม คุณลักษณะด้านสมรรถนะสากล สร้างความเป็นพลเมืองไทย & พลเมืองอาเซียน

Cultural Awareness Soap Crafting Class  Pottery Making for Beginners  The Art of Playing Angklung  Chinese Paper Cutting  Cupcake Decoration Class  Beginner Theatre Workshop

Cross Cultural Interaction

CROSS- CULTURAL EXCHANGE

COLLABORATION

ประเด็นปัญหา ระบบ/กลไก + วิธีดำเนินการ ของสถาบันอุดมศึกษา Character ที่มุ่งหวัง ขาดการทบทวน + พัฒนา ไม่สอดคล้องกับคนรุ่นใหม่ Effective ไม่พอต่อการปลูกฝัง ควรคงเดิม หรือ เพิ่มใหม่ ทิศทางไม่ชัดเจน โจทย์ เมื่อสถานการณ์เปลี่ยน เป้าหมาย + วิธีการ ต้องเปลี่ยน รูปแบบการดำเนินงานควรเป็นอย่างไร

เครือข่ายพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ สถาบันอุดมศึกษาเขตภาคกลาง ร่วมคิด ร่วมมือ ร่วมกัน ร่วมใจ พัฒนานักศึกษายุคใหม่ ให้พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

ยุทธศาสตร์เครือข่ายภาคกลาง วิสัยทัศน์ : สถาบันอุดมศึกษาเขตภาคกลาง มีความพร้อมและร่วมขับเคลื่อน ดำเนินงานเพื่อเตรียมนิสิตนักศึกษา สู่ประชาคมอาเซียน กลยุทธ์

กลยุทธ์การดำเนินงาน สร้างรายวิชาในหมวดการศึกษาทั่วไป เพื่อ ส่งเสริมความรู้เท่าทัน ASEAN Community

กลยุทธ์การดำเนินงาน สร้างสื่อเผยแพร่ ASEAN Community

กลยุทธ์การดำเนินงาน สร้างแนวคิดพัฒนานักศึกษา เพื่อความ พร้อมในการเข้าสู่ ASEAN Community : เพื่อขับเคลื่อนร่วมกันในสถาบันอุดมศึกษา “โครงการสัมมนา เตรียมนิสิตนักศึกษาอย่างไร เพื่อความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน”

กิจกรรมดำเนินงาน  ครั้งที่ ๑ : กลุ่มผู้บริหารกิจการนักศึกษา ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม  ครั้งที่ ๒ : กลุ่มบุคลากรสายบริการนักศึกษา ๙ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น  ครั้งที่ ๓ : กลุ่มบุคลากรสายพัฒนานักศึกษา ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ  ครั้งที่ ๔ : กลุ่มผู้นำกิจกรรมนักศึกษา ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๕ ณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

กลยุทธ์การดำเนินงาน สร้างแนวทางแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างสถาบัน

กลยุทธ์การดำเนินงาน ร่วมถอดบทเรียน (Lesson Learn) เพื่อ สร้างองค์ความรู้ในการเตรียมความพร้อม นิสิตนักศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน

งานมอบหมาย สกอ จัดทำเอกสาร “แนวปฏิบัติในการเตรียมความพร้อม นิสิตนักศึกษาเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”

คำถามเพื่อการค้นหา ทำไมต้องเตรียม เตรียมอะไร เตรียมอย่างไร ใครต้องเตรียม

สรุปประเด็นการเรียนรู้ จากการสัมมนา ๒ วัน เตรียมนิสิตนักศึกษาอย่างไร ให้พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

สรุปประเด็นการเรียนรู้ จากการสัมมนา ๒ วัน เตรียมนิสิตนักศึกษาอย่างไร ให้พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

เป้าหมายการสัมมนา  มองเห็นภาพอนาคตร่วมกัน (Future Scenario) (ถ้าเห็นอนาคต จะกำหนดก้าวเดินปัจจุบัน) - ภาพประชาคมอาเซียน : โอกาส / ความเสี่ยง - ประชาคมอาเซียน & ความเกี่ยวข้องกับนักศึกษา  แสวงหาแนวทางร่วมกัน - ประเด็นการเตรียมความพร้อมนักศึกษา (เตรียมอะไร / เตรียมอย่างไร) - บทบาทที่ควรดำเนินการ สำหรับ ๑. บุคลากรด้านกิจการนักศึกษา ๒. ผู้นำกิจกรรมนักศึกษา

ศตวรรษที่ 21 โลกใบใหม่ : หมุนเวียนเปลี่ยนไป ไม่เห็นรอยเดิม Rapidly Change Beyond Frontier Diversification

รวมตัวกัน เพื่อประโยชน์ร่วมกัน (รวมกันเราอยู่)

ประชาคมอาเซียน  เปิดพรมแดนให้แก่กันและกัน - Free flow  สร้างความร่วมมือระหว่างกัน - เสริมสร้างสันติภาพ & ความมั่นคง - เสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ - เสริมสร้างอำนาจการต่อรอง  สร้างความสัมพันธ์ระหว่าง people

A C ๒๐๑๕ : Thailand Change People Lifestyle Learning

A C : ความเกี่ยวข้องกับนักศึกษา  A C : สังคมที่แตกต่างจากอดีต  ความจำเป็นเท่าทัน Movement A C  ตลาดแรงงานที่เปิดกว้าง : สมรรถนะวิชาชีพ และการทำงาน  การเรียนรู้ : ก้าวข้ามพรมแดน  การใช้ชีวิตภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม

บัณฑิตยุคใหม่ต้องพร้อมที่จะ เข้าสู่ ASEAN Free Market

ทิศทางการเตรียมนักศึกษา พัฒนากลไกการพัฒนานักศึกษา พัฒนาผู้บริหาร อาจารย์ บุคลากร สายงานกิจการนักศึกษา : สมรรถนะ เสริมบรรยากาศสถาบัน สร้างแนวทาง engage นักศึกษา

ประเด็น การเตรียมความพร้อมนักศึกษา  A C Understanding - A C Awareness - Multi Cultural Awareness  สมรรถนะในตน Competency - วิชาชีพ - การคิด (ใช้เหตุผล วิเคราะห์) - สื่อสาร - การทำงานร่วมกับผู้อื่น - ความเป็นผู้นำ

ประเด็น การเตรียมความพร้อมนักศึกษา  คุณธรรมสำหรับยุคสมัย - เคารพศักดิศรีความเป็นมนุษย์ - รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม - จิตสำนึกมนุษยธรรม  ทักษะชีวิตภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม

ประเด็น การเตรียมความพร้อมนักศึกษา  ปรับรูปแบบการเรียนรู้ - สะสมความรู้ & ประสบการณ์ - เรียนรู้ก้าวข้ามประเทศ - ฯลฯ  จิตวิญญาณความเป็นคนไทย & พลเมืองไทย

พหุวัฒนธรรม แบบประพฤติ วิถีชีวิตร่วมกันของ แต่ละกลุ่มคนในสังคม ที่มีความ แตกต่างกัน นำไปสู่วิถีในการประพฤติ ปฏิบัติที่มี มากกว่า ๑ วัฒนธรรม ในสังคมนั้น แต่สามารถอยู่ร่วมกันได้ด้วยดี

มุมมองต่อ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความหลากหลาย คือ ความงดงาม ความหลากหลาย คือ คุณค่า ความหลากหลาย คือ พลังแห่งการสร้างสรรค์ ความหลากหลาย ก่อให้เกิดการเติม เต็ม ความหลากหลาย ทำให้เข้าใจตัวเราเอง

สรุปประเด็นการเรียนรู้ จากการสัมมนา ๒ วัน เตรียมนิสิตนักศึกษาอย่างไร ให้พร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

Challenge : How to Engage นักศึกษา Awareness Goal Setting Self Commitment Act by Themselves Method ?

ทิศทางการเตรียมนักศึกษา พัฒนากลไกการพัฒนานักศึกษา พัฒนาผู้บริหาร อาจารย์ บุคลากร สายงานกิจการนักศึกษา : สมรรถนะ เสริมบรรยากาศสถาบัน สร้างแนวทาง engage นักศึกษา

งานกิจการนักศึกษา ศตวรรษที่ 21 (เตรียมนักศึกษายุคใหม่สู่ A C) สร้างความรู้เท่าทัน Asean Movement Engage นักศึกษา ตระหนัก & เตรียมการ สร้างประสบการณ์การเรียนรู้วัฒนธรรมข้ามชาติ สร้างวิสัยทัศน์ด้านโลกกว้างทางการศึกษาและอาชีพ สร้างลักษณะนิสัยการอยู่ร่วมกันที่ดีภายใต้สังคม พหุวัฒนธรรม เสริม เติม เต็ม คุณลักษณะด้านสมรรถนะสากล สร้างความเป็นพลเมืองไทย & พลเมืองอาเซียน

กิจกรรมนักศึกษา : Adapt & Prepare เพื่อเตรียมความพร้อมสู่อาเซียน Agenda ผู้นำกิจกรรมนักศึกษา

กิจกรรมนักศึกษา : Challenge Issue ความเข้มแข็งองค์กร ความเป็นสากล รูปแบบการจัดกิจกรรมนักศึกษา ศักยภาพผู้นำ : พร้อมสู่เวทีสาธารณะ ?

Adaptation : กิจกรรมนักศึกษา กิจกรรม Asean Week / เท่าทัน Asean กิจกรรมเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม Asean กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ก้าวข้ามประเทศไทย (เรียนรู้ Asean + มนุษยธรรม) กิจกรรมรับน้อง ปราศจากความรุนแรง (ฝึกเคารพศักดิศรีความเป็นมนุษย์) สร้างชมรมใหม่ (English, IT, presentation Thinking) สอดแทรกการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในการดำเนินกิจกรรม Asean Student Network

Adaptation : กิจกรรมนักศึกษา สร้างกิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักศึกษา - การประกวดทางนวัตกรรม กิจกรรมร่วมกับนักศึกษา ASEAN สร้างโอกาสเรียนรู้ ภาษา วัฒนธรรม รูปแบบกิจกรรม : - เน้นวิชาการมากกว่าสันทนาการ - สร้างโอกาสการเข้าร่วมที่เปิดกว้าง บรรยากาศที่ส่งเสริมความเป็นสากล

Adaptation : บุคลากรกิจการนักศึกษา กระบวนทัศน์ Student Center Multicultural Awareness Basic Counseling Communication Skill Cross Cultural & Thai Understanding Problem Analysis Skill แนวทางการทำงานอย่างเป็นระบบ (สำรวจ ป้องกัน แก้ไขและพัฒนา) การทำงานโดยอิงหลักวิชา / ฐานข้อมูล / สถิติ ปรับแนวทางการทำงาน : เท่าเทียม เป็นธรรม

เครือข่ายบัณฑิตอุดมคติ คิดร่วมกัน แบ่งปันกัน ทำงานร่วมกัน ขับเคลื่อนร่วมกัน เป็นห่วงเป็นใยกัน มีสำนึกในข้อตกลงร่วม

Next Step for Network (Student Affairs Practitioner)  วินัยสำหรับสังคมพหุวัฒนธรรม  How to engage student for awareness A C - Orientation Program - Guidance & Counseling  How to develop competency student ? - Leadership, Thinking  How to เสริมสร้างลักษณะนิสัยนักศึกษา - Time Management etc.

Next Step for Network (Student Leader)  Adapt your student club  New Club support A C  Adapt the process of student activities (Competency approach, Quality approach)