ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

การประเมินผลสถานศึกษา
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูล เพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. จุดอ่อน ของคณะฯ 1.1 ยังไม่มี SERVERS เป็นของคณะฯเอง.
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.5 : จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการ และวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับใน ระดับชาติหรือระดับนานาชาติ 1. จุดอ่อน คณะฯมีพื้นที่ใช้สอยอย่างจำกัดในการเอื้อ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
เรื่อง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
รายงานผลทางวาจา การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน มหาวิทยาลัยพายัพ วันที่ 5-7 กันยายน 2551.
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อ อาจารย์ประจำ ( บาท ) 1. จุดอ่อน 1. อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระ งานรับผิดชอบที่หลากหลาย.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง รับผิดชอบหลายด้าน.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การ เรียนรู้โดยอาศัยผลการประเมินจาก ภายในและภายนอก ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง.
ชื่อตัวบ่งชี้ 1.3 : เงินเดือนเริ่มต้นของบัณฑิต ( ปริญญาตรี ) 1. จุดอ่อน 1. คณะฯยังไม่มีการจัดทำฐานข้อมูลเงินเดือนของ บัณฑิต 2. คณะฯยังขาดหลักคิดที่สมบูรณ์ในการเทียบ.
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.4 : ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับ ทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ จากภายในสถาบันต่ออาจารย์ประจำ ทุกระดับ 1. จุดอ่อน อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระงาน.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 3rd ปัญหา อุปสรรค แนวโน้มของ อุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 4 th กลยุทธ์การส่งเสริมและพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพอุตสาหกรรม ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ.
การเสริมสร้างให้บุคลากรรักองค์กร
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กลุ่มที่ 1 ศูนย์สารสนเทศด้านสาธารณสุขและสุขภาพ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ มีความเข้มแข็งสามารถชี้นำทิศทาง นโยบายและเป็นคลังสมองของ.
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
“เป็นหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพสูงในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาล”
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
โครงการ/กิจกรรม/กระบวนการ การจัดการแผนกลยุทธ์
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี มีการ บริหาร แบบมีส่วนร่วมเน้นการ กระจายอำนาจ โปร่งใสและ ตรวจสอบได้ รวมทั้งมีความสามารถ ในการผลักดันสถาบันให้ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล 1. จุดอ่อน เนื่องจากมีบุคลากรน้อย ทำให้ผู้บริหารคณะฯ ต้องทำหน้าที่สอน วิจัย / สร้างสรรค์ บริการวิชาการ ทำนุ บำรุงศิลปะและวัฒนธรรมควบคู่กับการบริหารซึ่งมีหน้าที่ ความรับผิดชอบสูงเกินกว่าที่มาตรฐานภาระงานของ ผู้บริหารที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้ ทำให้ไม่สัมพันธ์กับ เวลาที่มีอยู่ จึงทำให้ผู้บริหารคณะฯ ทำงานได้ไม่เต็ม ตามศักยภาพในแต่ละภาระงานที่ได้รับมอบหมาย

2. จุดแข็ง เนื่องจากผู้บริหารของคณะฯ ต้องรับผิดชอบภาระ งานในทุก ๆ ด้าน จึงทำให้ผู้บริหารเกิดความเข้าใจใน ภาระงานเหล่านั้นได้เป็นอย่างดี จนสามารถนำไปเป็น แนวทางในการกำหนดนโยบายการบริหาร ทิศทางการ ดำเนินงาน และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างถ่อง แท้ 3. โอกาส ผู้บริหารของคณะฯเรียนรู้ถึงขอบเขตของการ บริหารได้ในทุกภาระงานได้เป็นอย่างดี จึงทำให้นำไปสู่ แนวทางการดำเนินงานได้อย่างถูกต้อง

4. อุปสรรค ผู้บริหารมีภาระงานมาก จึงทำให้ไม่ค่อยมีโอกาสที่ จะทบทวนแนวทางนโยบายการทำงานบางประการ รวมถึงทิศทางการขับเคลื่อนองค์กรไปสู่เป้าหมายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 5. กลยุทธ์ / แผนพัฒนา ผู้บริหารจัดทำแผนงานหลักในภาพรวมของคณะฯ ที่ครอบคลุมทุกภารกิจและให้ทุกส่วนงานมีส่วนร่วมใน การทำแผนงาน จัดให้มีการประเมินผลอย่างเป็นรูปธรรม และนำผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาการทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพ