ควบคุมโรคแอนแทรกโนสของมะม่วงเพื่อการส่งออกได้อย่างไร How to Control Anthracnose Disease of Mango for the Export ?
ตารางการส่งออกมะม่วงสดและผลิตภัณฑ์ในปี 2547-2549 รายการสินค้า ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 (ม.ค.-ก.ย.) อัตราการเปลี่ยนแปลงสินค้า(%) ปี 48/47 ปี49/48(ม.ค.) ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) มะม่วงสดแช่เย็น 4,731 176.54 2,674 182.22 11,011 278.56 -43.48 3.21 349.98 94.35 มะม่วงกระป๋อง 10,903 344.79 10,679 366.11 10,053 349.68 -2.05 6.18 11.76 14.04 รวม 15,634 521.33 13,353 548.33 21,064 628.24 -14.59 5.18 84.09 39.62 ที่มา : นิรนาม,2549
การควบคุมโรคแอนแทรกโนสเพื่อส่งออก 1. ควบคุมในแปลงปลูก 1.1 ใช้สารเคมี 1.2 วิธีกล 2. ควบคุมหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต 2.1 ทางกายภาพ 2.2 โดยชีววิธี 2.3 การใช้สารสกัดจากพืช
รูปร่าง และอาการของโรคแอนแทรกโนส setae ของเชื้อสาเหตุ Conidia ของเชื้อสาเหตุ ผลมะม่วงเป็นโรค รูปที่ 1 รูปร่างและอาการของแอนแทรกโนส ที่มา : ดัดแปลงจาก www.doae.co.th
อุปสรรคใหญ่ในการส่งออกมะม่วงไทย ถูกปฏิเสธจากตลาดต่างประเทศ การเกิดโรค อาการ และผลกระทบ Infect ในแปลง ถูกปฏิเสธจากตลาดต่างประเทศ ผลสุก ขนส่ง วางจำหน่าย แสดงอาการ แผลลุกลามเน่าทั้งผล แผลกลม น้ำตาลเข้ม
วิธีการควบคุมและป้องกันแอนแทรกโนสเพื่อส่งออก 1. ควบคุมและป้องกันในแปลงปลูก 1.1 ใช้สารเคมี รูปที่ 2 การฉีดพ่นด้วย benomyl, mancozeb, copper oxychloride และการใช้ถุงคาร์บอนห่อผล ที่มา : www.doae.co.th และ www.dailynews.co.th ตามลำดับ
1. ควบคุมและป้องกันในแปลงปลูก (ต่อ) รูปที่ 3 การตัดแต่ง ทรงพุ่ม 1. ควบคุมและป้องกันในแปลงปลูก (ต่อ) 1.2 ใช้วิธีกล รูปที่ 3 การตัดแต่ง ทรงพุ่ม ที่มา : ดัดแปลงจาก www.pk-siam.com
2. ควบคุมและป้องกันหลังเก็บเกี่ยว 2.1 ใช้วิธีทางกายภาพ 1. Hot water treatment นิยมแช่ที่ 49-55 ºc นาน 5-30 นาที ผ่านการแช่น้ำร้อน รูปที่ 4 การควบคุมและป้องกันหลังเก็บเกี่ยวทางกายภาพ ไม่แช่น้ำร้อน ที่มา : ดัดแปลงจาก www.extento.hawaii.edu และ www.caes.gov.tw ตามลำดับ
2.1 ใช้วิธีทางกายภาพ (ต่อ) 2.1 ใช้วิธีทางกายภาพ (ต่อ) 2. Waxing and fruit coating รูปที่ 5 ผลมะม่วงที่ผ่านการเคลือบผล นิยมเคลือบ paraffin โดยการจุ่ม เก็บได้นาน 42 วัน ที่มา : ดัดแปลงจาก www.doae.go.th
2.1 ใช้วิธีทางกายภาพ (ต่อ) 2.1 ใช้วิธีทางกายภาพ (ต่อ) 3. Vapour heat treatment ขั้นตอนก่อนส่งออก จัดเรียงเข้าตู้อบไอน้ำร้อน ล้างด้วยน้ำคลอรีนเพื่อฆ่าเชื้อ จัดเรียงก่อนเข้าตู้อบ ติดฉลากก่อนส่งออก ตู้อบไอน้ำร้อน นำออกจากตู้อบมาผ่านความเย็น รูปที่ 6 วิธีการที่ยอมรับมากที่สุดในการส่งมะม่วงไปญี่ปุ่น ที่มา : http://www.pk-siam.com/website/mart/fruits/mango/mango_agri.html
1. ใช้ Gliocladium virens 2.2 ควบคุมโดยชีววิธี 1. ใช้ Gliocladium virens การทดสอบโดยปลูกเชื้อบนผลมะม่วง การทดสอบมะม่วงที่ติดเชื้อตามธรรมชาติ รูปที่ 7 การควบคุมโรคแอนแทรกโนสโดย G. virens บนมะม่วงที่ปลูกเชื้อ และผลที่ติดเชื้อตามธรรมชาติ ที่มา : จินันทนา และวิชชา(มปป.) ได้ผลดีถ้ามะม่วงมีการติดเชื้อในปริมาณน้อย เพราะเชื้อตัวนี้สามารถลดการเกิดโรค
2.2 ควบคุมโดยชีววิธี (ต่อ) 2.2 ควบคุมโดยชีววิธี (ต่อ) 2. ยีสต์+ไคโตซาน รูปที่ 8 การเข้าทำลายเส้นใยและสปอร์ของ Colletotrichum gloeosporioidis โดย Candida sp. ที่มา : ปริญญา และคณะ(มปป.) การใช้ยีสต์ Candida sp. สายพันธุ์ NS 9+0.5% ไคโตซาน ลดขนาดแผลดีที่สุด
2.2 ควบคุมโดยชีววิธี (ต่อ) 2.2 ควบคุมโดยชีววิธี (ต่อ) 3. แบคทีเรีย รูปที่ 9 เปรียบเทียบวิธีผสมผสานกับวิธีอื่น ที่มา : Govender และคณะ(2005) การควบคุมโดยใช้กรรมวิธีผสมผสานได้ผลดีที่สุด โดยลดการเกิดโรคแอนแทรกโนสได้ดี
2.3 การใช้สารสกัดจากพืช สารสกัด ที่มา : ผ่องเพ็ญ และคณะ(2542) 2.3 การใช้สารสกัดจากพืช สารสกัด รูปที่ 10 ประสิทธิภาพจากว่านน้ำ และโป๊ยกั๊ก ความเข้มข้น 10,000 มก./ล.ในการยับยั้งแอนแทรกโนส ที่มา : ผ่องเพ็ญ และคณะ(2542)
สารสกัด(ต่อ) ที่มา : ผ่องเพ็ญ และคณะ(2542) รูปที่ 11 ประสิทธิภาพจากว่านน้ำ และโป๊ยกั๊ก ความเข้มข้น 10,000 มก./ล.ในการยับยั้งแอนแทรกโนส ที่มา : ผ่องเพ็ญ และคณะ(2542)
2.3 การใช้สารสกัดจากพืช (ต่อ) 2.3 การใช้สารสกัดจากพืช (ต่อ) น้ำมันหอมระเหย ทดสอบการฉีดพ่นและอบไอระเหย ด้วยน้ำมันหอมระเหย ทดสอบการแช่ก่อนการปลูกเชื้อและหลังการปลูกเชื้อ รูปที่ 11 การเกิดโรคในมะม่วงที่ใช้น้ำมันหอมระเหยจากพืชควบคุม ที่มา:รวีวรรณ (มปป.)
สรุป - ควบคุมตั้งแต่ในแปลงปลูก เพื่อลดการเข้าทำลายในช่วงออกผล - ควบคุมตั้งแต่ในแปลงปลูก เพื่อลดการเข้าทำลายในช่วงออกผล - หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตต้องทำการควบคุมอีกครั้ง - ต้องลดการสารเคมีในการควบคุม เนื่องจากตลาดต่างประเทศปฏิเสธการรับซื้อ - ปัจจุบันการใช้เครื่องอบไอน้ำร้อน เป็นที่ยอมรับมากที่สุด - ควรมีการพัฒนา การใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์และน้ำมันหอมระเหยจากพืชมาใช้แทนสารเคมี
นางสาววรนันท์ คงจันทร์ โดย.... นางสาววรนันท์ คงจันทร์ อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. เสมอใจ ชื่นจิตต์ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2