งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การออกแบบนำเสนอข้อมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การออกแบบนำเสนอข้อมูล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การออกแบบนำเสนอข้อมูล
โดย ร.ศ. ดร.เบญจมาศ อยู่ประเสริฐ สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช

2 การออกแบบนำเสนอข้อมูล
การออกแบบการนำเสนอข้อมูล เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยต้องทำหลังจากได้สร้างเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้ว เพื่อนำเสนอข้อมูลให้ผู้อ่านรู้และเข้าใจ วิธีการนำเสนอข้อมูล 1. ตาราง 2. แผนภูมิแท่ง, แผนภูมิภาพ 3 แผนภาพ 4. กราฟ 5. เขียนเป็นร้อยแก้ว

3 หลักในการออกแบบการนำเสนอข้อมูลในรูปตาราง
 พิจารณาวัตถุประสงค์ของการวิจัยว่าต้องการการนำเสนออะไร  บรรยายลักษณะเบื้องต้นของประชากร  หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร  การศึกษาเปรียบเทียบข้อมูล  ออกแบบตารางนำเสนอให้สั้นแต่สามารถอธิบายข้อมูลได้มาก  รวมตารางที่ต้องการนำเสนอสิ่งเดียวกันไว้ด้วยกัน  ออกแบบตารางให้ตอบโจทย์การวิจัย( สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย)

4 หลักเกณฑ์ในการนำเสนอข้อมูลโดยใช้ตาราง
มีหมายเลขตาราง ใส่ลำดับที่ของตาราง มีชื่อตาราง แสดงเกี่ยวกับอะไร ที่ไหนและเมื่อไร ต้องสมบรูณ์และกะทัดรัดตรงกับความต้องการ ชื่อของสดมภ์และรายการในช่องแรกของตารางควรจะสั้นและชัดเจน ถ้าข้อมูลได้รับจากแหล่งต่างๆกันควรจะระบุแหล่งที่มาแต่ละแห่งไว้ในตารางด้วย

5 การใช้เกษตรดีที่เหมาะสมในการผลิตมะม่วงของสมาชิกกลุ่มเกษตรกร อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี
วัตถุประสงค์การวิจัย 2.1 เพื่อศึกษาสภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิกกลุ่มเกษตรกร อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี 2.2 เพื่อศึกษาการใช้เกษตรดีที่เหมาะสมในการผลิตมะม่วงของสมาชิกกลุ่ม เกษตรกรอำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี 2.3 เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างในการใช้เกษตรดีที่เหมาะสมในการผลิตมะม่วง ของสมาชิกกลุ่มเกษตรกร อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี 2.4 เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะในการใช้เกษตรดีที่เหมาะสมในการผลิต มะม่วงของสมาชิกกลุ่มเกษตรกรอำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี

6 ตัวอย่างตาราง ตามไปดูตัวอย่างค่ะ

7 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ตารางที่ 4.2 ข้อมูลเชิงคุณภาพทางด้านสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิกกลุ่มเกษตรกร รายการ กลุ่มที่ 1 ( n = 40 ) กลุ่มที่ 2 ( n = 53 ) กลุ่มที่ 3 (n = 42 ) จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 27 67.5 41 77.4 35 83.3 การศึกษา ไม่ได้เรียน 2 5.0 4 7.5 1 2.4 ประถมศึกษา 31 77.5 36 85.7 มัธยมศึกษาตอนต้นหรือ เทียบเท่า 7 17.5 5 9.4 มัธยมศึกษาตอนปลายหรือ - 3 5.7 7.1 อนุปริญญา ปริญญา

8 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2และ3
ตารางที่ เปรียบเทียบคะแนนการใช้ GAP ในการผลิตมะม่วงของสมาชิกกลุ่มเกษตรกร เกษตรดีที่ เหมาะสม (GAP) คะแนน เต็ม กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 F Sig x S.D. 1. แหล่งปลูก/ พื้นที่ปลูก 5 3.78 .73 3.43 3.48 .74 2.78 .066 2. พันธุ์ 2 1.73 .64 1.81 .59 1.83 .38 .45 .640 3. การปลูก 10 5.73 1.34 5.38 1.48 5.45 1.42 .72 .488 4. การปฏิบัติดูแลรักษา (59) (38.43)a 13.24 (19.42)b 12.45 (36.88)a 12.84 (32.15) .000 4.1 การบำรุงต้นมะม่วง 21 14.98 a 4.89 8.04 b 5.33 14.19 a 4.81 27.26 4.2 การใส่ปุ๋ยมะม่วง 17 11.10 a 4.25 b 4.35 10.24 a 5.44 28.52 4.3 การให้น้ำมะม่วง 7 3.28 a 1.50 1.04 c .81 2.10 b 1.66 32.05 4.4 การตัดแต่งกิ่ง 14 9.08 a 3.47 6.15 b 4.15 10.36 a 3.17 16.56

9 วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 ตารางที่ ปัญหาการใช้ GAP ในการผลิตมะม่วงของสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ปัญหาการใช้ GAP กลุ่มที่ 1 (n= 40 ) กลุ่มที่ 2 (n= 53 ) กลุ่มที่ 3 (n= 42 ) จำนวน ร้อยละ แหล่งปลูก/พื้นที่ปลูก พื้นที่ปลูกมีหินและหน้าดินตื้น ขาดแหล่งน้ำ 9 21 22.5 52.5 6 14 11.3 26.4 - 23 54.8 พันธุ์มะม่วงที่ส่งเสริม ขาดข้อมูลพันธุ์มะม่วงที่ส่งเสริม 5 11.9 การปลูก ปลูกระยะต้นที่ติดกัน 4 10 1 2.4 การดูแล ตัดแต่งกิ่งไม่ถูกต้อง 11 27.5 16 30.2 14.3 สุขลักษณะและความสะอาด ภายในสวน 12.5 การควบคุมศัตรูมะม่วง วิเคราะห์โรคและแมลงศัตรูมะม่วง 28 70.0 22 41.5 การใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย ขาดความรู้ 57.5 18 34 42.9


ดาวน์โหลด ppt การออกแบบนำเสนอข้อมูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google