รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
แบบรูปและความสัมพันธ์
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Sulperazon.
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
วิเคราะห์สถานการณ์อุบัติเหตุบนโครงข่ายถนน
แนวโน้มผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร ปี
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่
รายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553
โครงการ Survival on the Road
แนวคิดใหม่ ๆ ในการทำให้ รถจักรยานยนต์ปลอดอุบัติเหตุ
วันหยุดนักขัตฤกษ์ที่สงขลา มีอุบัติเหตุขนส่ง สูงกว่า
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
บทที่ 1 อัตราส่วน.
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ผู้สูงอายุไทย : ปัจจุบันและอนาคต
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
ความสำเร็จของนโยบายการวางแผนประชากรที่ทำให้อัตราเจริญพันธุ์ลดลง
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
บทบาทแพทย์ทหาร ในสถานการณ์ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
10 ลำดับโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตายประเทศไทย
ข้อ 1 โจทย์ ชาย อายุ 59 ปี มีไข้ ตรวจชีพจร และฟังได้หัวใจเต้นไม่ส่ำเสมอ ทำ ECG ดังแสดง จงอ่าน ECG นี้โดยละเอียด.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมุกดาหาร จำกัด
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2551 Darunee Phosri :
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
โครงการ พัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เพื่อลดความแออัด โรงพยาบาลพัทลุง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สรุปอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2549
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปข้อมูลสถิติอุบัติเหตุ บนทางหลวงชนบท ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2557 (ระหว่างวันที่ 27 ธันวาคม 2556 – 2 มกราคม 2557 ) “ปีใหม่สัญจรปลอดภัย ร่วมใจลดอุบัติเหตุ”
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
รายงานผลการดำเนินงานงบบำรุงปกติ ไตรมาส 3
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน ธันวาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
การวัดและประเมินผล.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ชื่อเรื่อง. ผลการติดตามลักษณะการมีงานทำ ภายใน 1 ปี
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551 รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551

วัตถุประสงค์ : เพื่อสะท้อนสถานการณ์บาดเจ็บ จากอุบัติเหตุจราจรที่รับการรักษา ในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และโรงพยาบาลสงขลา ปี 2551 เปรียบเทียบการบาดเจ็บ ปี 2548 2549 2550 และ 2551

ข้อมูล : ข้อมูลมาจาก งานเวชระเบียน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลา ข้อมูลนำเสนอ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ผู้ป่วยเสียชีวิตที่ห้องฉุกเฉิน : จำนวนรายเดือน เพศ อายุ ผู้ป่วยนอก : จำนวนรายเดือน เพศ อายุ ผู้ป่วยใน : จำนวนรายเดือน เพศ อายุ โรงพยาบาลสงขลา ผู้ป่วยทั้งหมด : จำนวนรายเดือน หมายเหตุ : - การนำเสนอข้อมูล จะเน้นรถจักรยานยนต์ - ผู้ป่วยนอกคือ ผู้บาดเจ็บที่ได้รับการรักษาแล้วกลับบ้าน - ผู้ป่วยในคือ ผู้บาดเจ็บที่ต้องได้รับการรักษาต่อเป็นผู้ป่วยของโรงพยาบาล และผู้ป่วยอุบัติเหตุที่รับส่งต่อจากโรงพยาบาลอื่น

จำนวน (ข้อมูลดิบ) สัดส่วน (%) วิธีนำเสนอข้อมูล : หมายเหตุ : สัดส่วน(%) คือ การคำนวณจากจำนวนอุบัติการณ์ในเดือนของปีนั้นๆ /จำนวนอุบัติการณ์เฉลี่ยต่อเดือนของปีนั้น ๆ เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างปีของแต่ละเดือน

เสียชีวิตที่ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 2551 เสียชีวิตที่ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 2551 18 ราย เฉลี่ย = 1.5 ราย/เดือน ชาย 14 ราย อายุ 16-73 ปี อายุเฉลี่ย 38 ค่ามัธยฐาน(median) = 29.5 หญิง 4 ราย อายุ 1-33 ปี อายุเฉลี่ย 12 ค่ามัธยฐาน(median) = 19.5

ข้อมูล : ชาย จากรถจยย. 11 ราย ใน 14 ราย หญิง จากรถจยย. 1 ราย ใน 4 ราย เสียชีวิตที่ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : จำแนกรายเดือน จำนวน ข้อมูล : ชาย จากรถจยย. 11 ราย ใน 14 ราย หญิง จากรถจยย. 1 ราย ใน 4 ราย

เสียชีวิตที่ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : ระหว่างปี 2548 - 2551 เสียชีวิตที่ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : ระหว่างปี 2548 - 2551 จำนวน

ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 2551 ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 2551 3,054 ราย เฉลี่ย = 255 ราย/เดือน ชาย = 55% (1,676/3,054) จยย. = 81% ของผู้ป่วย (2,469/3,054) อายุ 15-25 ปี = 46% ของทั้งหมด จยย.ชาย = 54% ของจยย.ทั้งหมด (1,344/2,469)

ผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : จำแนกหญิง/ชาย รายเดือน ผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : จำแนกหญิง/ชาย รายเดือน จำนวน ข้อมูล : ผู้ป่วยรักษาแล้วกลับบ้าน 3,054 ราย เฉลี่ย = 255 ราย/เดือน ชาย 1,676 ราย = 55%(1,676/3,054) หญิง 1,378 ราย = 45%(1,378/3,054)

ผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : จำแนกจยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : จำแนกจยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด 2,469 ราย = 81%(2,469/3,054) จยย.ชาย 1,344 ราย = 54%(1,344/2,469)

ข้อมูล : 74%ของทั้งหมด อายุต่ำกว่า 35 ปี(2,282/3,054) ผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : จำแนกหญิง/ชาย ตามช่วงอายุ จำนวน 25% 21% 9% 8% 7% 7% 6% 7% 5% 5% ข้อมูล : 74%ของทั้งหมด อายุต่ำกว่า 35 ปี(2,282/3,054)

ผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : เปรียบเทียบข้อมูลช่วยอายุระหว่างปี 2548-2551 สัดส่วน(%) ข้อมูล : อุบัติเหตุในกลุ่มอายุ 15-25 ปี อยู่ระหว่างร้อยละ 46-49 ของสัดส่วนทั้งหมดในช่วง ปี 2548-2551

ข้อสังเกต : เดือนสิงหาคม สัดส่วนการบาดเจ็บค่อนข้างสูง ผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : เปรียบเทียบข้อมูลรายเดือนระหว่างปี 2548-2551 สัดส่วน(%) ข้อสังเกต : เดือนสิงหาคม สัดส่วนการบาดเจ็บค่อนข้างสูง

ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 2551 ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 2551 927 ราย เฉลี่ย = 77 ราย/เดือน ชาย = 69% (635/927) จยย. = 67% ของผู้ป่วย (640/927) จยย.ชาย = 70% ของจยย.ทั้งหมด (451/640) จำนวน 64% อายุต่ำกว่า 35 ปี

ผู้ป่วยใน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : จำแนกหญิง/ชาย รายเดือน ผู้ป่วยใน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : จำแนกหญิง/ชาย รายเดือน จำนวน ข้อมูล : ผู้ป่วยรับไว้รักษา 927 ราย เฉลี่ย = 77 ราย/เดือน ชาย 635 ราย = 69%(635/927)

ผู้ป่วยในอก โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : จำแนกจยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ผู้ป่วยในอก โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : จำแนกจยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด 640 ราย = 67%(640/927) จยย.ชาย 547 ราย = 70%(451/640)

ข้อมูล : 64%ของทั้งหมดอายุต่ำกว่า 35 ปี ผู้ป่วยใน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : จำแนกหญิง/ชาย ตามช่วงอายุ จำนวน 20% 16% 14% 9% 8% 9% 8% 6% 5% 4% ข้อมูล : 64%ของทั้งหมดอายุต่ำกว่า 35 ปี

ข้อสังเกต : ปี 2551 กลุ่มอายุ > 45 ปีมีสัดส่วนบาดเจ็บสูงขึ้น ผู้ป่วยใน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : เปรียบเทียบข้อมูลช่วงอายุระหว่างปี 2548-2551 สัดส่วน(%) ข้อสังเกต : ปี 2551 กลุ่มอายุ > 45 ปีมีสัดส่วนบาดเจ็บสูงขึ้น

ผู้ป่วยใน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : เปรียบเทียบข้อมูลรายเดือน ระหว่างปี 2548-2551 สัดส่วน(%) ข้อสังเกต : เดือนสิงหาคม มีสัดส่วนสูงกว่าค่าเฉลี่ยต่อเดือนทุกปี ระหว่างปี 2548-2551

ผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร โรงพยาบาลสงขลา 2551 : ผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร โรงพยาบาลสงขลา 2551 : 4,305 ราย เฉลี่ย = 359 ราย/เดือน จยย. = 81%(3,497/4,305) จยย.ประเภทผู้ป่วยนอก = 66%(2,308/3,497)

ข้อมูล : เดือนสิงหาคม ผู้ป่วยสูง ผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร โรงพยาบาลสงขลา: จำแนกรายเดือน จยย.ทั้งหมด จยย.รักษาแล้วกลับบ้าน จำนวน ข้อมูล : เดือนสิงหาคม ผู้ป่วยสูง

ข้อสังเกต : เดือนพฤศจิกายน มีสัดส่วนค่อนข้างต่ำกว่าเดือนอื่น ๆ ผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร โรงพยาบาลสงขลา: เปรียบเทียบรายเดือนระหว่างปี 2548-2551 สัดส่วน(%) ข้อสังเกต : เดือนพฤศจิกายน มีสัดส่วนค่อนข้างต่ำกว่าเดือนอื่น ๆ

สรุป ข้อมูลสะท้อนความเสี่ยงอุบัติเหตุจราจร ของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ข้อมูลสะท้อนความเสี่ยงอุบัติเหตุจราจร ของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ กลุ่มผู้ใช้รถจักรยานยนต์ ชาย 11/14 เสียชีวิตที่ห้องฉุกเฉิน จากรถจยย. 81% ของผู้ป่วยนอก จากรถจยย. 70% ของรถจยย. เป็นผู้ป่วยชายที่ต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล กลุ่มอายุ 64 %ของผู้ป่วยที่ต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล อายุต่ำกว่า 35 ปี 74 %ของผู้ป่วยนอก อายุต่ำกว่า 35 ปี กลุ่มอายุมากกว่า 45 ปีมีแนวโน้มบาดเจ็บสูงขึ้น

รายงานโดย นางสาวปฐมพร ซื่อธานุวงศ์ ชมรมลดอุบัติเหตุบนท้องถนนเมืองหาดใหญ่