ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
Advertisements

ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
สถานที่ฝึกงาน ที่ว่าการอำเภอโคกโพธิ์ ถนนเพชรเกษม ตำบลโคกโพธิ์ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี แผนกงานที่รับผิดชอบ งานฝ่ายทะเบียนและบัตรประจำตัวประชาชน.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การ เรียนรู้โดยอาศัยผลการประเมินจาก ภายในและภายนอก ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง.
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา กองธุรการ สำนักงานอธิการบดี วิทยาเขตปัตตานี 7 กรกฎาคม 2553

ผลการประเมินภารกิจร่วม จุดเด่น 1.มีกิจกรรม/โครงการพัฒนาบุคลากรที่ครอบคลุมบุคลากรทุกระดับ 2.บุคลากรทุกงานมีความพร้อมและมุ่งมั่นในการพัฒนางาน 3.มีระบบการดำเนินกิจกรรม 5 ส.ที่ชัดเจน 4.มีระบบฐานข้อมูลที่หลากหลาย สามารถเอื้อประโยชน์ในการ ดำเนินงานได้เป็นอย่างดี 5.ผู้บริหารของกองทุกระดับ มีความมุ่งมั่นในการใช้ระบบประกันคุณภาพ เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน

ผลการประเมินภารกิจร่วม จุดเด่น 6.มีระบบ IT มาช่วยในการจัดเก็บข้อมูลประกันคุณภาพ สามารถนำ มาใช้งานได้ทันตามเวลา 7.มีการนำผลการประเมินถ่ายทอดลงสู่ KPIs ระดับบุคคล

ผลการประเมินภารกิจร่วม ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1.ควรบูรณาการตัวบ่งชี้ที่ประเมินทั้งหมดให้อยู่ในแผนกลยุทธ์ และแปลงแผนกลยุทธ์สู่แผนปฏิบัติการ 2.ผู้บริหารควรยึดแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการเป็นเครื่องมือ ในการบริหารงาน 3.การประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ กองธุรการควรจะ ดำเนินการเองและแยกเป็นแต่ละงานให้ครอบคลุมทุกกลุ่มผู้ใช้บริการ เพื่อสะท้อนภารกิจที่ชัดเจน โดยอาจจะแบ่งการประเมินเป็นช่วง 3 เดือนครั้ง 4.ควรกำหนดแผนพัฒนาบุคลากรทุกงานทั้งระยะสั้นและระยะยาว และมีระบบการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 5.ควรเชื่อมโยงเครือข่ายการจัดทำแผนกิจกรรม/โครงการพัฒนางาน ทั้งระดับมหาวิทยาลัยและคณะ/หน่วยงาน

ผลการประเมินภารกิจร่วม ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 6.ควรส่งเสริมให้บุคลากรมีการพัฒนาสมรรถนะสากล เช่น การฝึก ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ การไปต่างประเทศ เป็นต้น 7.ควรมีการประเมินผลกิจกรรม 5 ส.อย่างเป็นระบบ และให้หน่วยงาน ภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการประเมิน ควรเพิ่มการจัดสรรรางวัล หรืออื่นๆ เพื่อเป็นการสร้างเสริมการปฏิบัติงาน 8.ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรรุ่นใหม่ให้มีความรู้ความเข้าใจในระเบียบฯ และงานที่ปฏิบัติ 9.ควรพัฒนาชุมชนนักปฏิบัติ (cop) ของทุกงาน ให้เกิดผลใน เชิงรูปธรรม

ผลการประเมินภารกิจร่วม ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 10.ควรพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของหน่วยงานกลาง ให้เอื้อต่อการใช้งานของหน่วยงานภายนอก เช่น สำนัก คณะ

ผลการประเมินภารกิจเฉพาะ จุดเด่น 1.มีนโยบายในการส่งเสริมการพัฒนางานอย่างชัดเจน 2.มีผลงานที่สามารถนำมาพัฒนางานได้ครอบคลุมทุกงาน 3.บุคลากรมีความรู้ในการใช้ webpage สามารถปรับปรุงและ พัฒนาได้เอง 4.มีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการทำงาน อย่างต่อเนื่อง 5.มีการวางระบบการบริหารความเสี่ยงที่ครอบคลุมทุกงาน

ผลการประเมินภารกิจเฉพาะ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1.ควรมีการติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนางานอย่าง เป็นระบบและต่อเนื่อง และนำผลที่ได้จากโครงการพัฒนางาน มาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม 2.ควรปรับปรุงการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยและรวดเร็ว ในหลากหลายช่องทาง 3.การประเมินผลตามตัวบ่งชี้ 2.1 ควรมีการประเมินผลทั้งกระบวนการ และผลลัพธ์ 4. เพิ่มช่องทางการแจ้งข้อมูลข่าวสารทางการเงินให้มากขึ้น เช่น แจ้งการรับเงินยืมผ่านมือถือ (sms)

ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ความประทับใจ/สิ่งที่ทำได้ดี 1.เจ้าหน้าที่ของงานการเงินฯ มีจิตบริการที่ดี (หน้าเคาน์เตอร์) 2.ให้ความเป็นกันเองกับนักศึกษาที่มาช่วยงาน 3.เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรม ทำให้นักศึกษา ได้รับความรู้และมีประสบการณ์เพิ่มขึ้น 4.บุคลากรงานการเจ้าหน้าที่มีความรู้และประสบการณ์ มีความแม่นยำ ในกฎระเบียบ สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ที่มาติดต่อประสานงาน

ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ และสิ่งที่ควรปรับปรุง 1.ควรจัดทำ/เผยแพร่ระเบียบการเบิกจ่ายเงินที่เกี่ยวข้องให้ผู้ใช้บริการ ได้รับทราบ เช่น ค่าตอบแทนของพนักงานขับรถ 2.ควรปรับปรุงระบบการให้บริการหน้าเคาน์เตอร์การเงิน โดยจัดให้มี บัตรคิวในการติดต่อบริการ เพื่อลดปัญหาใครมาก่อน-มาหลัง 3.การปรับปรุงสถานที่ทำงานให้สะดวกและพร้อมต่อการให้บริการ เช่น งานสารบรรณ งานยานยนต์ 4.ควรมีการตรวจสอบสภาพการใช้งานของรถที่ให้บริการ เนื่องจาก รถบางคันมีสภาพที่เก่ามาก แอร์ไม่เย็น และเสียบ่อย ไม่ควรนำมา จัดให้บริการอีก

ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ และสิ่งที่ควรปรับปรุง 5.ควรประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ให้มากกว่านี้ เพื่อเปิดโอกาสให้ นักศึกษาได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมมากยิ่งขึ้น 6.ขาดการเชื่อมโยงงานระหว่างบุคคลภายในงานเดียวกัน ควรปรับปรุง ระบบการสื่อสารภายในงานให้มากกว่านี้ 7.ความสามารถเฉพาะบุคคลในบางหน่วยงานไม่เท่าเทียมกัน ส่งผลต่อความสำเร็จของงาน

สิ่งที่ต้องพัฒนาเร่งด่วน 3-5 อันดับ ควรบูรณาการตัวบ่งชี้ที่ประเมินทั้งหมดให้อยู่ในแผนกลยุทธ์ และแปลงแผนกลยุทธ์สู่แผนปฏิบัติการ 1 ควรพัฒนาชุมชนนักปฏิบัติ (cop) ที่มีอยู่ ให้เกิดผล ในเชิงรูปธรรม และนำผลไปสู่การพัฒนางานอย่างแท้จริง 2 การประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มผู้ใช้บริการเพื่อสะท้อนภารกิจที่ชัดเจน โดยอาจจะแบ่งการประเมินเป็นช่วง 3 เดือนครั้ง 3

ข้อเสนอแนะทั่วไป ควรเลือกบางหน่วยงานเพื่อทำ Benchmarking ด้านการให้บริการกับธนาคารไทยพาณิชย์ เช่น งานการเงิน

ข้อเสนอแนะต่อการปรับปรุงรายงานการประเมิน คุณภาพ ปีการศึกษา 2552 1.ปรับแก้ค่าคะแนนเฉลี่ย (ฟอร์ม 6) ทั้งสองภารกิจ ให้ถูกต้อง 2.ปรับค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักของตัวบ่งชี้ที่ 1.6 (ฟอร์ม 7) 3.ปรับผลการดำเนินงานของตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ให้สอดรับกับเกณฑ์การให้ คะแนน