Gems and Jewelry Electronic Commerce

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Electronic Business Model โมเดลของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
Advertisements

บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
การใช้ E (Electronic) ในภาครัฐ
BA2301 หลักการตลาด การค้าปลีกและการค้าส่ง
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
ที่มาของเสิร์ชเอ็นจิน (Search Engine)
โครงการพัฒนา e-Thailand และ e-Government
วิชา การจัดการข้อมูล (Data Management) 3(2-2-5) บทที่ 3
การพัฒนาการสื่อสารองค์กร โรงพยาบาลขอนแก่น
หลักการตลาด บทที่ 17 การตลาดทางตรง.
บทที่ 7 การตลาดออนไลน์ 2 (ต่อ)
บทที่ 7 การตลาดออนไลน์ 2 (ต่อ)
อัญมณีและเครื่องประดับ
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 2 การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
ประโยชน์และโทษของการใช้งานคอมพิวเตอร์
การประยุกต์ใช้ไอซีที ในบริบทธุรกิจท่องเที่ยว
รูปแบบการตลาดอิเล็กทรอนิกส์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
06/11/56 บทที่ 1 ภาพรวมของ E- Commerce.
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
Logistics Logistics เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนย้ายและการเก็บวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดกำเนิด.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
Money Making Models Brokerage ธุรกิจที่หารายได้จากการเป็นตัวกลาง-นายหน้า Advertising ธุรกิจที่หารายได้จากการโฆษณา Merchant ธุรกิจที่หารายได้จากการค้าส่ง-ค้าปลีก.
ยินดีต้อนรับ. ยินดีต้อนรับ หัวข้อที่นำเสนอ วินสโตร์คือใคร? หลักการรวมศูนย์ ระบบให้บริการ กลุ่มเป้าหมาย.
บทที่ 13 การค้าส่งและการค้าปลีก (Wholesaling and Retailing)
การประยุกต์ใช้งานระบบการจัดการเนื้อหาเว็บและแนวโน้มในอนาคต
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
บทที่ 5 เครือข่ายสังคมออนไลน์
บทที่ 5 เครือข่ายสังคมออนไลน์
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ตอนที่ 2
ภาษีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การศึกษาความพร้อมในการใช้การจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป จัดทำโดย นางสาววราพร วิริยะไชยกุล ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต.
คอมพิวเตอร์เน็ตเวริ์คเบื้องต้น การจัดการระบบสารสนเทศ
Computer Application in Customer Relationship Management
บทที่ 8 การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ.
แยกตามลักษณะผู้ใช้บริการ
People-to-People (P2P)
e-Office การบริหารสำนักงานสมัยใหม่
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
E-Business Transformation and digital strategies
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
บทที่ 13 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
การค้าปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์ และ การค้าปลีกแบบไม่มีร้านค้า
Chapter 1 แนะนำการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
บทที่ 4 การค้าส่ง.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
Marketing 3.0 ฟิลิป คอตเลอร์ (Philip Kotler) เฮรมาวัน การตะจายา
THE QUALITIES เฉพาะคนรู้จริง Target Market. กติกา การเล่นเกม กติกา การเล่นเกม the qualities ๑.จับกลุ่ม ๕ คน แล้วนั่งเป็นแถวให้ครบ ๒.ตั้งชื่อกลุ่มของกลุ่มตนเอง.
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
ระบบสารสนเทศที่แบ่งตามลักษณะการสนับสนุนการทำงาน:
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
การประมูลจัดซื้อจัดจ้างแบบ on-line E-Auction
บทที่ 11 อิทธิพลของสถานการณ์ (Situational influence)
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Ployphan Sornsuwit
บทที่ 6 การตลาดทางตรงโดย สื่อไปรษณีย์และโทรศัพท์.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

167306 Gems and Jewelry Electronic Commerce บทที่ 3 ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th

Outline หลักการคู่ค้า ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบธุรกิจของ B2C รูปแบบธุรกิจของ B2B/B2G รูปแบบการแสวงหารายได้ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

หลักการของคู่ค้า คู่ค้าที่จับคู่แลกเปลี่ยนข้อมูลทางธุรกิจจำแนกเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มธุรกิจ (Business) กลุ่มรัฐบาล (Government) กลุ่มประชาชน (Citizen) ผู้บริโภค (Consumer) หรือ ลูกค้า (Customer)

ประเภทของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ) ความสัมพันธ์หลักมีด้วยกัน 5 ลักษณะ Business to Customer (B2C) Business to Business (B2B) Business to Government (B2G) Government to Citizen (G2C) Consumer to Consumer (C2C) การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Commerce: M-Commerce) แบ่งตามลักษณะของเทคโนโลยีที่ใช้ในการทำการค้าขาย

1. Business to Customer (B2C) หมายถึง การที่ธุรกิจขายสินค้าหรือบริการโดยตรงให้กับผู้บริโภค ช่องทางนี้เป็นช่องทางที่ผู้ผลิตขนาดกลางและขนาดเล็กสามารถฉกฉวยเป็นโอกาสในการต่อสู้กับบริษัทขนาดใหญ่ได้

รูปแบบของธุรกิจของ B2C เว็บท่า (Portal) Horizontal Portal Vertical Portal เว็บค้าปลีก (E-tailer) เว็บเน้นเนื้อหา (Content Provider) เว็บนายหน้า (Transaction Broker) ตลาดออนไลน์ (E-marketplace) เว็บให้บริการ (Service Provider) เว็บชุมชนคนออนไลน์ (Community Provider)

2. Business to Business (B2B) หมายถึง การซื้อขายระหว่างผู้ประกอบการด้วยกันเอง ครอบคลุมถึงเรื่อง การขายส่ง การทำการสั่งซื้อสินค้าผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบห่วงโซ่อุปทาน(Supply Chain Management) เป็นต้น จะมีความซับซ้อนในระดับต่างๆกันไป

3. Business to Government (B2G) หมายถึง เป็นการค้าระหว่างองค์กรเอกชนกับองค์กรของรัฐบาลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การประมูลออนไลน์ โดยรัฐบาลดำเนินการจัดซื้อ โดยธุรกิจยื่นแบบประกวดราคาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ของกรมสรรพากรอนุญาตให้ธุรกิจสามารถยื่นแบบภาษีมูลค่าเพิ่ม(ภพ.30) หรือ เว็บไซต์ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าให้ธุรกิจที่ต้องการจดทะเบียนบริษัทสามารถค้นหาและจองชื่อได้ เช่น www.gprocurement.go.th www.rd.go.th

รูปแบบของธุรกิจของ B2B และ B2G รูปแบบการประมูลหรือแคตาล็อกออนไลน์ (Auction, E-catalog) รูปแบบการรวบรวมหรือตลาดออนไลน์ (Aggregator/Exchange) รูปแบบของความร่วมมือการทำงาน (Collaborative) รูปแบบของการประมูลแบบย้อนกลับ (Bid/Reverse Auction)

Auction, E-catalog มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายในลักษณะ one-to-many ผู้ขายเป็นได้ทั้งผู้ผลิตสินค้าหรือจะเป็นผู้จัดจำหน่ายก็ได้ สามารถขายผ่าน E-catalog สำหรับลูกค้ารายใหญ่เป็นพิเศษจากลูกค้าทั่วไปได้

ชนิดของการประมูล Forward Auction Reverse Auction One Knock Auction English Auction Yankee Auction Dutch Auction

Aggregator/Exchange มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายในลักษณะ Many-to-many เป็นตลาดออนไลน์ที่ผู้ซื้อและผู้ขายมาเจอกัน เหมือนใน B2C แต่ผู้ซื้อและผู้ขายจะเป็นหน่วยงานธุรกิจ หรือรัฐบาล

Aggregator/Exchange องค์ประกอบของการเป็นตลาด มี 3 ประการ คือ องค์ประกอบของการเป็นตลาด มี 3 ประการ คือ สมาชิกที่เกี่ยวข้องกับตลาด ความปลอดภัยของการค้าภายในตลาด การบริการของตลาด

ประเภทของตลาดออนไลน์ ตลาดออนไลน์ที่เป็นที่รวมของผู้ซื้อผู้ขายจากหลาย ๆ อุตสาหกรรม ตลาดออนไลน์ที่มุ่งเฉพาะเจาะจงอุตสาหกรรมประเภทเดียว

Collaborative มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายในลักษณะ One-to-One นอกจากจะเป็นการทำธุรกรรมของบริษัทหนึ่งกับอีกบริษัทแล้ว ยังหมายถึง บริษัทหลาย ๆ บริษัทเข้าร่วมกันวางแผน ออกแบบ พัฒนา วิจัย จัดการ โดยผ่านเครือข่ายเฉพาะกลุ่ม

Bid/Reverse Auction มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายในลักษณะ Many-to-One เป็นลักษณะของการจัดซื้อของหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน ที่มีการกำหนดลักษณะของสินค้าที่ต้องการ และให้ทางผู้สนใจเสนอราคามา โดยใครเสนอราคามาได้ต่ำสุด ก็จะเป็นผู้ได้ขายสินค้านั้น

4. Government to Citizen (G2C) คือ การบริการของภาครัฐผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น การคำนวณและเสียภาษีผ่านอินเทอร์เน็ต การให้บริการข้อมูลประชาชนผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นต้น

5. Consumer to Consumer (C2C) เป็นการค้าระหว่างบุคคลกับบุคคล หรือระหว่างผู้ใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วยกันเอง มีหลายรูปแบบและวัตถุประสงค์ เช่นเพื่อการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร หรืออาจจะทำการแลกเปลี่ยนสินค้ากันเอง เช่น ขายของมือสอง

การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ ธุรกิจหลายแห่ง ใช้ช่องทางการสื่อสารด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ในการทำการค้า มีการพัฒนาแอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อเป็นช่องทางการจำหน่ายสินค้าและบริการ เช่น แอพพลิเคชั่นบนมือถือของสายการบินนกแอร์

รูปแบบของการแสวงหารายได้ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สามารถแบ่งรูปแบบรายได้ ดังนี้ รายได้จากการโฆษณา รายได้จากค่าสมาชิก รายได้จากค่าธรรมเนียมจากการทำธุรกรรม รายได้จากการขายสินค้าหรือบริการ รายได้จากโปรแกรมแบบเชื่อมโยง