แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ. 7.3 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Workshop. Workshop 1 • แบ่งกลุ่มนักศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ในฐานะที่กลุ่มของท่านเป็นผู้บริหาร ระดับกลาง ได้รับมอบหมายจาก ผู้บริหารระดับสูงให้ทำการพัฒนา ปรับปรุงระบบงานสารสนเทศในความ.
Advertisements

“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
การบัญชีสำหรับกิจการ
Graduate School Khon Kaen University
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เพื่อรับการประเมินภายนอก
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การประกันคุณภาพการศึกษา
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน
การประกันคุณภาพการศึกษา
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
สื่อโสตทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ Management Software Hardware
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การประเมินผลการเรียน
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
1 กำหนดการวันนี้ 15 มกราคม – 11.15แนะนำกองแผนงาน และ กองต่างๆ สนอ – เดินชมสถานที่ แนะนำ กองการเจ้าหน้าที่ กองอาคารและสถานที่ กองกลาง.
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
แผนการดำเนินงาน 2558 กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
ระบบงานตรวจการจ้าง รายการสิ่งก่อสร้างวิทยาเขตปัตตานี
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ

2 กรณีใช้ของ หน่วยงาน กรณีใช้ของ มหาวิทยาลัย 1. หน่วยงานต้องมีการตั้ง คณะกรรมการจัดทำ แผนระบบสารสนเทศ ที่ ประกอบไปด้วยผู้บริหาร ด้านระบบสารสนเทศของ สถาบัน และกลุ่มผู้บริหารที่ เป็นผู้ใช้ระบบสารสนเทศ 1. ให้หน่วยงานอ้างว่าใช้ คณะกรรมการเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ของ มธ. ( ดูบทสรุปแผน แม่บท IT) 2. ให้ระบุระบบงานที่ หน่วยงานใช้ในการบริหาร และการตัดสินใจ ว่าระบบ ใดใช้ของมหาวิทยาลัย / ระบบใดใช้ของหน่วยงาน เอง ตามแบบฟอร์ม ตามแบบฟอร์ม ( ขอให้ส่งแบบฟอร์ม ดังกล่าวมาที่ กองแผนงาน ภายในใน วันที่ 22 มีนาคม 2556) 2. ต้องแสดงให้เห็นว่า แผนระบบสารสนเทศ สอดคล้องกับแผน กลยุทธ์ของหน่วยงาน 1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan) เกณฑ์มาตรฐานและ แนวทางดำเนินการ

3 กรณีใช้ของ หน่วยงาน กรณีใช้ของ มหาวิทยาลัย 3. ระบบสารสนเทศที่ นำเสนอ ในแผนระบบสารสนเทศ ควรประกอบด้วย ( เป็นอย่าง น้อย ) - วัตถุประสงค์ และ ความสามารถ ในการทำงานของระบบแต่ ละระบบ - ความสอดคล้องของ แต่ละระบบ ที่มีต่อแต่ละกลยุทธ์ของ หน่วยงาน - ความสัมพันธ์ระหว่าง ระบบสารสนเทศที่นำเสนอ ใหม่กับระบบสารสนเทศที่มี อยู่ในปัจจุบัน 1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan) ( ต่อ ) เกณฑ์มาตรฐานและ แนวทางดำเนินการ

4 กรณีใช้ของ หน่วยงาน กรณีใช้ของ มหาวิทยาลัย 3. ( ต่อ ) - ทรัพยากรสารสนเทศ ที่ต้องการใช้ใน แต่ละระบบ ทั้ง hardware, software (system software และ application software) database, people-ware, และ facilities อื่นๆ - งบประมาณที่ใช้ในแต่ ละระบบ - การประเมินความ คุ้มค่าของระบบสารสนเทศ - การจัดลำดับ ความสำคัญของระบบ สารสนเทศ 1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan) ( ต่อ ) เกณฑ์มาตรฐานและ แนวทางดำเนินการ

5 2. มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการ ตัดสินใจตามพันธกิจของสถาบัน โดยอย่าง น้อยต้องครอบคลุมการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริหารจัดการ และการเงิน และสามารถ นำไปใช้ในการดำเนินงานประกันคุณภาพ กรณีใช้ของ หน่วยงาน กรณีใช้ของ มหาวิทยาลัย ต้องแสดงให้เห็นว่าหน่วยงานมีระบบสารสนเทศที่ ใช้ในการดำเนินงานตามปกติ และมีระบบ สารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารและการตัดสินใจ และควรแสดงให้เห็นว่ามีการนำระบบ สารสนเทศเพื่อการบริหารฯ ไปใช้บริหาร / ตัดสินใจในเรื่องที่เป็นพันธกิจของสถาบัน รวมทั้งเป็นข้อมูลเพื่อใช้ในการดำเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษา เกณฑ์มาตรฐานและ แนวทางดำเนินการ

6 3. มีการประเมินความพึงพอใจของ ผู้ใช้ระบบสารสนเทศ กรณีใช้ของ หน่วยงาน กรณีใช้ของ มหาวิทยาลัย ต้องมีการประเมินความ พึงใจของผู้ใช้ระบบ สารสนเทศเป็นประจำ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง มหาวิทยาลัยจะเป็นผู้ ประเมินผลความพึง พอใจของผู้ใช้ระบบ ในส่วนที่เป็นระบบงาน กลางของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ หากหน่วยงานมี ระบบของตนเองควรมี การประเมินผลความ พึงพอใจของผู้ใช้ระบบ นั้นๆ ด้วย เกณฑ์มาตรฐานและ แนวทางดำเนินการ

7 4. มีการนำผลการประเมินความพึง พอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศมา ปรับปรุงระบบสารสนเทศ กรณีใช้ของ หน่วยงาน กรณีใช้ของ มหาวิทยาลัย 1. กำหนดผู้รับผิดชอบใน การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก การประเมินความพึงพอใจ ของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ 2. นำผลการประเมินความ พึงพอใจมาใช้ในการจัดทำ แผนปรับปรุงระบบ สารสนเทศ 3. แผนปรับปรุงระบบ สารสนเทศควรผ่านการ พิจารณาจากผู้บริหารแล้ว 4. มีการดำเนินการตาม แผนปรับปรุงระบบ สารสนเทศตามระยะเวลาที่ กำหนด มหาวิทยาลัยจะเป็นผู้ วิเคราะห์ผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้ใช้ ระบบ จัดทำแผนและ ปรับปรุงระบบสารสนเทศใน ส่วนที่เป็นระบบงานกลาง ของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ หากหน่วยงานมีระบบ ของตนเองควรมีการ วิเคราะห์ผลการประเมิน ความพึงพอใจ และจัดทำ แผนปรับปรุงระบบ สารสนเทศด้วย เกณฑ์มาตรฐานและ แนวทางดำเนินการ

8 5. มีการส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย ของหน่วยงานภายนอก ที่เกี่ยวข้องตามที่กำหนด กรณีใช้ของ หน่วยงาน กรณีใช้ของ มหาวิทยาลัย มีการส่งข้อมูลผ่านระบบ เครือข่ายของสำนักงาน คณะกรรมการการ อุดมศึกษาตามที่สำนักงาน คณะกรรมการการ อุดมศึกษากำหนด ได้แก่ ระบบ CHE QA online ระบบฐานข้อมูลรายบุคคล ด้านนักศึกษา บุคลากร และข้อมูลหลักสูตร ในสถาบันอุดมศึกษา เป็น ต้น มีการส่งข้อมูลผ่านระบบ CHE QA online ตาม กำหนด เกณฑ์มาตรฐานและ แนวทางดำเนินการ