ราคาและวิธีการกำหนดราคา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
รหัส หลักการตลาด.
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
การเลือกคุณภาพสินค้า
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
การประยุกต์ใช้องค์ประกอบของต้นทุนการผลิตเพื่อการบริหารอย่างมืออาชีพ
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
Product and Price ครั้งที่ 8.
Training Management Trainee
Lesson 11 Price.
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
หลักการตลาด บทที่ 13 การส่งเสริมการตลาด.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 1 อัตราส่วน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
MARKET PLANNING DECISION
Location Problem.
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
1.
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 11 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategies)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
Integrated Marketing Communication
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
เอกสารเรียนวันที่ 17 มกราคม 2555 การเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
8 ราคา วัตถุประสงค์ในการกำหนดราคา ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคา
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ต้นทุนการผลิต.
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
การจัดการส่วนประสมการตลาดในช่องทางการตลาด
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ราคาและวิธีการกำหนดราคา หลักการตลาด บทที่ 8 ราคาและวิธีการกำหนดราคา

ความหมายของราคา ราคา Marketing Mixs ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย Marketing Mixs การส่งเสริมการตลาด ราคา (Price) หมายถึง “มูลค่าของผลิตภัณฑ์หรือบริการที่แสดงค่าออกมา ในรูปหน่วยเงิน หรือหน่วยการแลกเปลี่ยนอื่นๆ” มูลค่า (Value) หมายถึง ความสามารถของผลิตภัณฑ์หนึ่งในหน่วยการ แลกเปลี่ยนกับผลิตภัณฑ์อื่นๆ

วัตถุประสงค์ของราคา วัตถุประสงค์ของ การกำหนดราคา 1. วัตถุประสงค์เพื่อกำไรเป็นหลัก 1.1 การกำหนดราคาเพื่อบรรลุ กำไรตามเป้าหมาย 1.2 กำหนดราคาเพื่อกำไรสูงสุด 2. วัตถุประสงค์เพื่อกระแสเงินสด 3. วัตถุประสงค์เพื่อความ อยู่รอดขององค์กร วัตถุประสงค์ของ การกำหนดราคา 6. เพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ 4. วัตถุประสงค์เพื่อส่วน ครองตลาด 5. วัตถุประสงค์เพื่อภาพพจน์ ด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดราคา 1. ความต้องการของตลาด (Demand) ระดับราคา (P) เส้น Demand ปริมาณความต้องการหรือยอดขาย (Q) * ลักษณะความสัมพันธ์ของระดับราคาและความต้องการของตลาด ระดับราคา (P) Inverse Demand ปริมาณความต้องการหรือยอดขาย (Q) * ลักษณะความต้องการผกผัน

- ระดับราคาที่ผู้บริโภคคาดหวัง (Expected Price) % การเปลี่ยนแปลงในราคาขาย - เส้นความต้องการมีความยืดหยุ่นต่ำ (Inelasticdemand) - เส้นความต้องการมีความยืดหยุ่นสูง (Elasticdemand)

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดราคา 2. การแข่งขันในตลาด (Competition) 3. กฎหมายและระเบียบวิธีบังคับ (Legal and Regulatory) 4. ส่วนผสมทางการตลาดอื่นๆ (Other Marketing Mixs)

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดราคา 5. ต้นทุน (Cost) ต้นทุนคงที่ - ต้นทุนคงที่รวม Fixed Costs - ต้นทุนคงที่เฉลี่ย ต้นทุนผันแปร - ต้นทุนผันแปรรวม Variable Costs - ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย ต้นทุนรวม - ต้นทุนรวม Total Costs - ต้นทุนรวมเฉลี่ย ต้นทุนส่วนเพิ่ม Marginal Costs

ต้นทุนส่วนเพิ่มต่อหน่วย แสดงต้นทุนแต่ละชนิดของธุรกิจแห่งหนึ่ง ปริมาณการผลิต (Q) ต้นทุนคงที่รวม (TFC) ต้นทุนผันแปรรวม (TVC) ต้นทุนรวม (TC) ต้นทุนส่วนเพิ่มต่อหน่วย (MC) ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (AFC) ต้นทุนผันแปรเฉลี่ย (AVC) ต้นทุนเฉลี่ย (AC) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 256 64 84 99 112 125 144 175 224 297 400 320 340 355 368 381 431 480 553 656 20 15 13 19 31 49 73 103 ~ 256.00 128.00 85.33 64.00 51.20 42.67 36.57 32.00 28.44 25.60 42 33 28 25 24 40 320.00 170.00 118.33 92.00 76.20 66.67 61.57 60.00 61.44 65.60

วิธีการกำหนดราคาขั้นพื้นฐาน 1. การกำหนดราคาจากต้นทุน 2. การกำหนดราคาจากการ วิเคราะห์จุดคุ้มทุน 3. การกำหนดราคาโดย อาศัยกลไกตลาด 4. การกำหนดราคาโดยพิจารณาจาก การแข่งขันในตลาดเป็นหลัก

การกำหนดราคาจากต้นทุน 1. การกำหนดราคาจากต้นทุน (Cost – Plus Pricing) คือการ กำหนดราคา โดยยึดถือต้นทุนของผลิตภัณฑ์เป็นหลัก 1.1 การกำหนดราคาโดยบวกจากต้นทุนเฉลี่ย - Markup Pricing 1.2 การกำหนดราคาโดยบวกจากต้นทุนส่วนเพิ่ม 1.3 การกำหนดราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุนผันแปรเฉลี่ย - ต้นทุนคงที่เปรียบเสมือนต้นทุนจม (Sunk Cost)

แสดงการตั้งราคาโดยเพิ่มจากต้นทุนโดยพ่อค้าคนกลาง ราคาขาย = 150 = 100% ส่วนเพิ่ม = 60 = 40% ต้นทุน 90 = 60% ราคาขาย = 90 = 100% ต้นทุนของ ผู้บริโภค = 150 ราคาขาย = 72 = 100% ส่วนเพิ่ม = 18 = 20% ต้นทุน 72 = 80% กำไร =7.2 =10% ต้นทุน 64.8 = 90% ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค

แสดงการคำนวณจุดคุ้มทุนและการประยุกต์ใช้จุดคุ้มทุนในการตั้งราคา จำนวนเงิน(บาท) รายได้รวม (TR) ต้นทุนรวม (TC) 40000 20000 ต้นทุนคงที่รวม (TFC) จำนวน(พัน) 1 2 3 4 5 6 7

ตารางแสดงจุดคุ้มทุน ราคาขายต่อหน่วย ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย กำไรส่วนเกินต่อหน่วย ต้นทุนคงที่รวม จุดคุ้มทุน ปริมาณความต้องการซื้อของลูกค้า รายได้รวม ต้นทุนรวม กำไร (ขาดทุน) 50 20 10 7.5 5 45 15 2.50 20000 444.4 1333.3 4000.0 8000.0 400 2000 5000 7000 40000 50000 52500 22000 30000 45000 55000 (2000) 10000 (2500)

การกำหนดราคาจากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน 2. การกำหนดราคาจากการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break – Even Analysis) เป็นการกำหนดราคาโดยอาศัยต้นทุนร่วมกับระดับความต้องการ (Demand) ณ ระดับราคาต่างๆมาเป็นปัจจัยหลักในการกำหนดราคา - จุดคุ้มทุน (Break – Even Point) หมายถึง “ระดับปริมาณการผลิตและ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ทำให้เกิดรายได้รวมเท่ากับต้นทุนรวมของกิจการ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่รวม (หน่วยผลิตภัณฑ์) ราคาขาย - ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ราคาขาย ณ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงที่รวม + ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย = ต้นทุนคงที่ต่อหน่วย + ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย ปริมาณขาย (หน่วย)

การกำหนดราคาโดยอาศัยกลไกการตลาด 3. การกำหนดราคาโดยอาศัยกลไกตลาด (Price Base on Demand and Supply) เป็นการกำหนดราคาโดยทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ที่ว่า ด้วยกฎของอุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) ราคา Supply เป็น ระดับราคา ดุลภาค จุดดุลภาพ Demand ปริมาณ

การกำหนดราคาโดยพิจารณาจากการแข่งขันในตลาดเป็นหลัก 4. การกำหนดราคาโดยพิจารณาจากการแข่งขันในตลาดเป็นหลัก (Price Base on Competition) เป็นการกำหนดราคาโดยอาศัยระดับราคาของ คู่แข่งขันโดยอาศัยราคาของคู่แข่งเป็นหลักอ้างอิงในการกำหนดราคา การกำหนดราคาต่ำกว่าคู่แข่งขัน (Pricing Below Competition Level) การกำหนดราคาสูงกว่าคู่แข่งขัน (Pricing Above Competition Level) การกำหนดราคา ณ ระดับราคาตลาด (Pricing At Competition Level)