ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
บทที่ 6 การชักตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
การเลือกคุณภาพสินค้า
Lecture 8.
นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
หน่วยเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium)
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
MK201 Principles of Marketing
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
บทที่ 9 ปัญหาการขนส่ง Transportation Problem
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
พฤติกรรมผู้บริโภค ศิวาพร ทรงวิวัฒน์.
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ต้นทุนการผลิต.
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
หลักการเขียนโครงการ.
ตลาด ( MARKET ).
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ทฤษฎีการผลิต.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 3 Consumer Behavior
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค เป้าหมายาของทฤษฏีนี้คือ การอธิบายว่าผู้บริโภคได้จัดสรรทรัพยากร (รายได้) ของเขาในการซื้อสินค้าบริการต่างๆอย่างไร ทฤษฏีนี้จะประกอบด้วย 3 ส่วนหลักคือ • ความพึงพอใจของผู้บริโภค (consumer preferences) • ความจำกัดของรายได้ (งบประมาณ) (budget constraints) • ทางเลือกที่ผู้บริโภคได้เลือก (consumer choices)

ความพึงพอใจของผู้บริโภค สินค้าบริการที่ผู้บริโภคต้องตัดสินใจเลือกมีทั้งชนิดและจำนวน ตระกร้าสินค้าบริการ (market basket) หรือ กลุ่มสินค้าบริการ (bundle) เรียกแทนรายการของสินค้าบริการประเภทหนึ่งที่มีปริมาณหนึ่งๆ เช่น market basket อาหาร (กก.) เสื้อผ้า (ชุด) A 20 30 B 10 50 C 40 20 D 30 40

ข้อสมมติพื้นฐานเกี่ยวกับความพึงพอใจ ข้อสมมติที่กำหนดให้ความพึงพอใจของผู้บริโภคมีต่อสินค้าบริการมี 3 ประการคือ 1. Completeness “ผู้บริโภคสามารถเปรียบเทียบและเรียงลำดับความพึงพอใจที่มีต่อตระกร้าสินค้าแบบต่างๆได้” มีความเป็นไปได้ 3 ทางสำคัญ A และ B (อย่างใดอย่างหนึ่ง) • พึงพอใจ A มากกว่า B • พึงพอใจ B มากกว่า A • พึงพอใจ A เท่ากับ B (indifferent)

2. Transitivity “ถ้าพึงพอใจ A มากกว่า B และพึงพอใจ B มากกว่า C ต้องพึงพอใจ A มากกว่า C” ข้อนี้เป็นการสร้างความสอดคล้องในความพึงพอใจ 3. More is better than less. “พึงพอใจในปริมาณที่มากกว่า” “ความพึงพอใจไม่มีที่สิ้นสุด” ข้อสมมติทั้งสามช่วยให้ความพึงพอใจของผู้บริโภคมีเหตุมีผล และเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์

เราสามารถแสดงความพึงพอใจของผู้บริโภคในแนว รูปกราฟด้วยเส้นความพึงพอใจเท่ากัน (indifference curve) IC แทนคู่หรือชุด (combinations) ของตระกร้าสินค้าต่างๆที่ทำให้ผู้บริโภคได้ความพึงพอใจที่เท่ากัน IC จะมีคุณสมบัติทั้งสาม สามารถแยกคู่ของกระกร้าสินค้า (กลุ่มของสินค้า) ที่อยู่บนเส้น IC เดียวกันได้ ออกจากจุดอื่นที่ไม่อยู่บน IC นั้นๆ

• A Clothing (units per week) 50 • B • E 40 • H 30 20 • G • D 10 Food (units per week) 10 20 30 40

• B • H • G • A • Clothing (units per week) 50 40 • E 30 U1 20 D 10 Food (units per week) 10 20 30 40

IC จะลาดจากซ้ายไปยังขวาเสนอ IC จะไม่ลาดขึ้นจากซ้ายไปยังขวา เพราะจะขัดแย้งกับข้อสมมติที่ว่า “more is better than less” Indifference map แสดงกลุ่มของ IC ของผู้บริโภคที่มีต่อตระกร้าสินค้าต่างๆ IC ที่สูงกว่าจะมีความพึงพอใจที่มากกว่า IC จะต้องไม่ตัดกัน แต่ขนานกัน

Clothing (units per week) • D • B • A U3 U2 U1 Food (units per week)

Clothing (units per week) A B • • • D Food (units per week)

ลักษณะ (Shape) ของ IC บอกการทดแทนสินค้าสองชนิดได้ (substitute) เพื่อให้ความพึงพอใจคงที่ ถ้าได้สินค้าชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น ต้องนำสินค้าอีกชนิดไปแลก (ทำให้เหลือน้อยลง) เราวัดการทดแทนนี้ด้วย Marginal Rate of Substitution (MRS) MRS ของอาหาร (f) แลกกับด้วยเสื้อผ้า (c) คือ จำนวน (หน่วย)ของเสื้อผ้าที่ผู้บริโภคยินดีที่จะให้ไปเพื่อได้มาซึ่งอาหารเพิ่มขึ้นอีก 1 หน่วย

• A • B • D • E • G Clothing (units per week) 16 14 12 10 8 6 4 2 -6 12 • B 10 1 8 -4 • D 6 1 • E -2 4 • G 1 -1 1 2 Food (units per week) 1 2 3 4 5

MRS เท่ากับความชันของเส้น IC (ค่าสัมบูรณ์) MRS = - C / F เนื่องจาก IC ส่วนใหญ่มี MRS ที่ลดลงเพื่อเคลื่อนต่ำลงตามเส้น IC จึงเป็นปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “Diminishing marginal rate of substitution” ในทางเทคนิค IC เป็นเส้นที่ convex หรือวกเข้าหา (bowed inward) เมื่อเทียบกับจุด origin

Styling Performance Styling Performance (b) (a)

Apple Juice (glasses) (a) Perfect Substitutes 4 3 2 1 Orange Juice (glasses) 1 2 3 4

Left Shoes 4 3 2 1 Right Shoes 1 2 3 4 (b) Perfect Complements

Bads คือ สินค้าบริการที่ผู้บริโภคพึงพอใจที่จะมีน้อยๆ (ตรงข้ามกับ goods) เช่น ขยะ มลพิษ เป็นต้น วิธีการวิเคราะห์ก็ใช้หลักการ IC เหมือนข้างต้นได้ แต่ ต้องเปลี่ยนหน่วยนับ (หรือ แทนที่เป็น bads) ให้สอดคล้องกับ goods แทนที่จะเป็นจำนวนเพิ่มขึ้นของ bads (1, 2, 3, …) เหมือนทั่วไป ต้องเป็นการลดลงของ bads (1, 2, 3, …) ซึ่งลดยิ่งมากก็ยิ่งพอใจเพิ่มขึ้น เหมือน goods

หากแสดงความพึงพอใจของผู้บริโภคในแนวทางคณิตศาสตร์จะอยู่ในรูปของอรรถประโยชน์ (utility) อรรถประโยชน์ หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อสินค้าบริการต่างๆ ฟังก์ชันอรรถประโยชน์ (utility function) คือ สูตรในการกำหนดขนาดของอรรถประโยชน์ที่ได้จากสินค้าบริการ เช่น U (F,C) = F + 2C utility ต่างจาก IC ตรงที่ utility ใช้ตัวเลขในการเปรียบเทียบความพึงพอใจ ขณะที่ IC เป็นเพียงการลำดับความพึงพอใจด้วยเส้นกราฟ

• • • Clothing (units per week) 15 D 10 U3 = 100 A 5 U2 = 50 B U1 = 25 Food (units per week) 5 10 15

ตัวเลขของอรรถประโยชน์จะสื่อความหมาย 2 แบบ คือ • ตัวเลขที่เพียงบอกสูงต่ำหรือมากน้อย แต่ ไม่สามารถบอกความแตกต่างระหว่างสองตัวเลขได้ จะเป็น ordinal utility • ตัวเลขที่สามารถบอกความแตกต่างระหว่างสองตัวเลขได้ จะเป็น cardinal utility เช่น 6 เป็น 2 เท่าของ 3 เป็นต้น จะใช้ ordinal utility ก็เพียงพอแล้ว ดังนั้น จึงไม่สามารถนำอรรถประโยชน์มาเปรียบเทียบระหว่างบุคคลได้ (interpersonal comparisons of utility are impossible)