เครื่องแสดงภาพโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก Ultrasonic Imaging System COE2005-08 อาจารย์ที่ปรึกษา ดร.นวภัค เอื้ออนันต์ ดร.ดารณี หอมดี ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ผู้จัดทำ นาย มนัสชัย คุณาเศรษฐ รหัส 453040870-4 นาย วิทวัส กาพย์ไกรแก้ว รหัส 453040927-1 นางสาว ศศิธร พัวไพโรจน์ รหัส 453040963-7
ที่มาและความสำคัญของปัญหา งานอุตสาหกรรมจำเป็นต้องมีการตรวจสอบคุณภาพ ต้องการวิธีการตรวจสอบโดยไม่ทำลายวัสดุ รูปแบบการแสดงผลแบบเดิมไม่สะดวกในการวิเคราะห์ทั้งชิ้นงาน เครื่องมือวัดมีราคาแพง
วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่จะได้รับ พัฒนาระบบในการตรวจสอบตำหนิในวัสดุโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก พัฒนาระบบในการวิเคราะห์ผลสัญญาณและนำมาแสดงเป็นภาพชิ้นงาน ระบบที่พัฒนามีราคาถูกและให้ข้อมูลสมบูรณ์
ทฤษฎี Non Destructive Test : Ultrasonic Pulse Echo What is ultrasonic? Frequency more than 20 kHz Travels efficiently through most liquids and common engineering materials Reflection from an obstacle
Ultrasonic thickness gauging Ultrasonic flaw detection applications utilize frequencies between 500 kHz and 10 MHz Thickness gauging and flaw reflection Example equipment for testing
System overview Probe positioning module Ultrasonic module GUI & CG module
Processing and generating output.. System overview Processing and generating output.. Camera (x,y) x y s(x,y) Ultrasonic probe Probe coordinate is (3,1)
Displaying Output Integrate and analyse data Output prototype The green area is thicker than the blue one Same point Thickness scale color bar Output prototype
ขอบเขตของงาน ใช้ตรวจสอบวัสดุที่มีรูปทรงไม่ซับซ้อน ใช้เพื่อวัดความหนาของวัสดุ
เครื่องมือที่ใช้ Hardware Data Acquisition Card Ultrasonic probe Emitting Receiving Ultrasonic probe Camera Software Platform Windows XP Microsoft VC# .NET LABVIEW 7.1 DirectX SDK 9.0
ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง พัฒนาโปรแกรมหาพิกัดจากภาพโดยใช้กล้องวีดีโอ ทดลองใช้อุปกรณ์อัลตราโซนิก พัฒนาโปรแกรมตรวจหาตำหนิโดยใช้อัลตราโซนิก พัฒนาโปรแกรมแสดงภาพความหนาของชิ้นงาน ทดสอบและแก้ไขจุดบกพร่อง
แผนการดำเนินงาน
ผลงานที่ทำ ศึกษาทฤษฎีพื้นฐานของอัลตราโซนิกและการนำไปใช้ในงานตรวจสอบวัสดุแบบไม่ทำลาย ออกแบบแนวคิดในการระบุตำแหน่งของสัญญาณด้วยกล้องวีดีโอ ทดลองใช้โปรแกรม Lab View 7.1 ในการทดสอบการใช้การ์ดรับส่งสัญญาณ
งานที่เกี่ยวข้อง เครื่องตรวจสอบรอยบกพร่องและความหนาของโลหะแผ่นโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิกส์[3]
เอกสารอ้างอิง Benson Carlin, Ultrasonics (Second Edition), 1960 http://www.panametrics-ndt.com/ndt/ndt_technology/ultrasonic_flaw_detection.html มาโนชญ์ ศรีคงแก้ว, ศุภชัย พรหมจรรย์, เครื่องตรวจสอบรอยบกพร่องและความหนาของโลหะแผ่นโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิกส์, 2547