Phylum Porifera อ.แน็ต
Phylum Porifera - เป็นสัตว์หลายเซลล์ชั้นต่ำสุด ไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง, ไม่มีการประสานการทำงานระหว่างเซลล์ ส่วนใหญ่รูปร่างทรงกระบอก ไม่มีสมมาตร (asymmetry) ตัวเต็มวัยเกาะอยู่กับที่ ลำตัวมีรูพรุน (porous = รู + fera = มี) ปัจจุบันพบประมาณ 5,500 ชนิด ส่วนใหญ่พบอาศัยในทะเล ในน้ำจืดพบประมาณ 150 ชนิด กลุ่มที่พบบริเวณน้ำตื้นมีสีสันสดใส ส่วนกลุ่มที่พบในที่ลึกมีสีคล้ำ
ฟองน้ำมีการจัดเรียงเซลล์ได้ 2 ชั้น เซลล์ไม่มี basement membrane และไม่มี การประสานการทำงานระหว่างเซลล์ จึงยังไม่เป็นเนื้อเยื่อ ชั้นเซลล์ทั้ง 2 ชั้นคือ 1. Pinacoderm 2. Choanoderm (3. Mesohyl)
Pinacoderm ประกอบด้วยเซลล์ Pinacocyte เรียงต่อกันเพื่อ ปกคลุมเป็นชั้นผิวด้านนอก เซลล์ pinacocyte บางเซลล์เปลี่ยนแปลงเป็น เซลล์ทรงกระบอกที่มีช่องกลางเซลล์เรียก Porocyte โดยทำหน้าที่เป็นทางน้ำเข้า Ostia คือช่องที่เปิดให้น้ำเข้า
Choanoderm ประกอบด้วยเซลล์ Choanocyte เรียงตัวชั้นเดียวด้านในช่องกลางลำตัว มี flagellum โบกให้น้ำผ่าน เข้ามาในช่อง spongocoel เกี่ยวข้องกับการจับกินอาหาร Osculum คือช่องที่เปิดให้น้ำออก
Radial canal choanocyte Scypha sp.
Mesohyl (Mesenchyme) เป็นชั้นวุ้น แทรกอยู่ระหว่างชั้น pinacoderm และ ชั้น choanoderm เป็นบริเวณที่พบเซลล์พิเศษที่เรียกว่า amoebocyte เคลื่อนที่อยู่ เซลล์นี้ทำหน้าที่หลายประการเช่น ย่อยอาหาร สร้างเซลล์สืบพันธุ์ สร้างโครงสร้างค้ำจุนร่างกาย
โครงร่าง (Skeleton) มี 2 ชนิดคือ Spicule แท่งแข็ง อาจเป็นสาร CaCO3 หรือ silica มีรูปร่างหลายแบบ เกิดในชั้น mesohyl Spongin เป็นสารพวก scleroprotein สานกันอยู่ในชั้น mesohyl มีความเหนียวและนุ่ม
ระบบหมุนเวียนน้ำของฟองน้ำ
Asconoid Sponge Osculum Spongocoel Ostium Porocyte Ostium Spongocoel Leucosolenia sp. Ostium Porocyte Ostium Spongocoel Osculum
Syconoid Sponge Scypha (x.s.) Spongocoel Pinacocyte Apopyle Radial Chamber Incurrent Canal Choanocyte Prosopyle
Radial canal Radial chamber Choanocyte canal Choanocyte chamber Flagellated canal Flagellated chamber
Leuconoid Sponge Osculum Apopyle Excurrent canal Prosopyle Dermal pore Incurrent canal Radial canal
สรุปแผนผังการหมุนเวียนน้ำ Asconoid type ostium spongocoel osculum Syconoid type incurrent canal prosopyle radial canal osculum spongocoel apopyle 3. Leuconoid type dermal pore incurr. canal prosopyle radial canal osculum excurrent canal apopyle dermal pore (Grantia)
Asexual Reproduction Budding Fragmentation Gemmule formation -survive freezing Micropyle Spicule
Gemmules ฟองน้ำน้ำจืด
Gemmule
Sexual Reproduction ฟองน้ำส่วนใหญ่มีเพศรวม (monoecious) เซลล์สืบพันธุ์ปรับเปลี่ยนมาจากเซลล์ archeocyte การสร้างเซลล์สืบพันธุ์แต่ละเพศ จะสร้างไม่พร้อมกัน มีการผสมข้ามตัวโดยมีการปฏิสนธิภายใน และใช้ระบบ หมุนเวียนน้ำพาอสุจิไปยังฟองน้ำตัวอื่น ตัวอ่อนพัฒนาในตัวแม่ระยะหนึ่ง ก่อนว่ายล่องลอยไปตามกระแสน้ำ
Grantia sp.
Grantia sp.
Class Calcispongiae มีขนาดเล็ก ส่วนใหญ่รูปร่างกระสวย Calcium carbonate spicule - monaxon และ triaxons
Leucosolenia sp. Scypha sp. Grantia sp.
Leucosolenia sp.
Monaxon and triaxon spicules
Class Hyalospongiae Silica spicule มี 6 แฉก ไม่มีชั้น pinacoderm และ mesohyl ระบบไหลเวียนน้ำคล้าย syconoid type อาศัยในทะเลลึก Euplectella
Class Demospongiae 85% ของฟองน้ำทั้งหมด โครงร่างอาจเป็น spicule หรือ spongin หรือทั้งสองอย่างร่วมกัน ถ้ามีสปิคูลจะเป็นสาร silica สปิคูลมีหลายแบบและหลายขนาดแตกต่างกัน ระบบไหลเวียนน้ำแบบ Leuconoid type
Class Sclerospongiae Sclerospongia sp. เกาะอยู่บนก้อนปะการัง Silica spicule และ spongin โดยมี CaCO3 อยู่ที่ฐาน
ปฏิบัติการ สไลด์ถาวร - section, spicule, gemmule 2. ตัวอย่างฟองน้ำชนิดต่างๆ - ฟองน้ำน้ำจืด - ฟองน้ำหูช้าง - ฟองน้ำถูตัว