Lesson 10 Controlling.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

บทที่ 7 การควบคุม.
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ความหมายของการวางแผน
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
การจัดการเชิงกลยุทธ์
ระบบการบริหารการตลาด
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
รายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ความหมายและหลักการของการจัดการ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
PDCA คืออะไร P D C A.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
Business Information System ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
วงจรการผลิต วงจรของกิจกรรมการวางแผนและควบคุมการผลิต การผลิตและการบริหารสินค้าคงเหลือ ผลิตสินค้า การวางแผนและ ควบคุมการผลิต บริหารสินค้าคงเหลือ.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
การเงิน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
ระบบการผลิต ( Production System )
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 15 Start การซ่อมบำรุงระบบ (System Maintenance) Next.
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
บทที่ 5 การวางแผนการผลิต.
บทที่ 3 Planning.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
Functional Level Strategy
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การวางแผนและควบคุมกำไรโดยงบประมาณ
สินค้าคงเหลือ.
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การบริหารโครงการ ยุทธนา พรหมณี.
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ความหมายของการบริการ
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
หลักการเขียนโครงการ.
ระบบสารสนเทศที่แบ่งตามลักษณะการสนับสนุนการทำงาน:
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
บทที่1 การบริหารการผลิต
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
การควบคุม การควบคุม (Controlling) คือกระบวนการในการติดตามและตรวจสอบกิจกรรมที่ปฏิบัติเพื่อให้แน่ใจว่าจะบรรลุผลสำเร็จตามแผน และหากมีข้อผิดพลาดก็จะสามารถดำเนินการปรับปรุงแก้ไข.
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
บทที่7 ระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Lesson 10 Controlling

Controlling กระบวนการตรวจสอบการปฏิบัติงานและการแก้ไขเพื่อให้งานเป็นไปตามที่ต้องการ

การควบคุม การปฏิบัติการ การตลาด การวิจัยและพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ การเงินและงบประมาณ การปฏิบัติการ การควบคุม การตลาด การวิจัยและพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์

ประโยชน์ของการควบคุม 1. งานต่าง ๆ มีความสอดคล้องกัน 2. เป้าหมายขององค์การสำเร็จสมบูรณ์ 3. ทำให้วิธีการปฏิบัตินโยบายและกฎเกณฑ์ขององค์การดำเนินไปในแนวเดียวกันทั้งระบบ

ผลเสียหากไม่มีการควบคุม 1. มีความเชื่อผิด ๆ ว่าสิ่งที่องค์การดำเนินอยู่ถูกต้องแล้ว 2. องค์การไม่ยอมรับความผิดพลาดที่เกิดขึ้น 3. หลบหนีปัญหาต่าง ๆ

กระบวนการในการควบคุม การกำหนดระบการควบคุมไว้ล่วงหน้าเพื่อใช้วัดความก้าวหน้าของการดำเนินงานว่าเป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้เพียงใด แยกออกเป็น 4 ขั้นตอน 1. การกำหนดมาตรฐานที่ใช้วัด (Establishing standard) 2. การวัดผลงานที่ทำได้จริง (Measuring actual performance) 3. การเปรียบเทียบผลงานที่ทำได้จริงกับมาตรฐาน (Comparing actual performance) 4. การแก้ไขให้ถูกต้อง (Taking corrective action)

Establishing standard 1. การกำหนดมาตรฐานที่ใช้วัด มาตรฐานผลผลิต (output standard) มาตรฐานปัจจัยการผลิต (input standard) - การเปรียบเทียบมาตรฐานในอดีต - การเปรียบเทียบมาตรฐานเดียวกัน - การเปรียบเทียบมาตรฐานทางวิศวกรรม

Measuring actual performance 2. การวัดผลงานที่ทำได้จริง การวัดผลงานที่เกิดจริงเป็นหน่วยผลิตที่ได้จริงหรือความพยายามที่ให้กับงานจริง

Comparing actual performance 3. การเปรียบเทียบผลงานที่ทำได้จริงกับมาตรฐาน เพื่อหาความแตกต่างที่เกิดขึ้นกับผลงานที่ทำได้จริงกับมาตรฐาน

Taking corrective action 4. การแก้ไขให้ถูกต้อง เป็นการดำเนินงานทางด้านการบริหาร ซึ่งจะดำเนินการเมื่อพบความแตกต่างระหว่างผลงานที่เกิดขึ้นจริงกับมาตรฐาน problem situation opportunity situation

ประเภทของการควบคุม 1. การควบคุมก่อนการดำเนินงาน (Feed forward control) การควบคุมเพื่อให้แน่ใจว่าทิศทางในการดำเนินงานเป็นไปอย่างถูกต้อง

2. การควบคุมระหว่างดำเนินงาน (Concurrent control) การควบคุมที่ใช้ในขณะดำเนินงานอยู่เพื่อให้กิจกรรมทุกอย่างเป็นไปตามแผนงานที่กำหนดและแก้ไขก่อนที่การเสียหายจะเกิดขึ้น Direct supervision Steering control

3. การควบคุมหลังดำเนินงาน (Feedback control) การควบคุมเมื่อทำงานเสร็จเรียบร้อยแล้วโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลพร้อมทั้งดำเนินการวิเคราะห์ว่าการดำเนินงานที่เสร็จสิ้นนั้นถูกต้องเพียงใด

การควบคุมที่มีประสิทธิผล 1. ความถูกต้อง (accuracy) 2. ความทันเวลา (timeliness) 3. ความประหยัด (economy) 4. ความยืดหยุ่น (flexibility) 5. การสามารถเข้าใจได้ (understandability) 6. การมีมาตรฐานที่สมเหตุผล (reasonable criteria) 7. การจัดระบบอย่างมีกลยุทธ์ (strategic place)

8. การเน้นกฎแห่งข้อยกเว้น (emphasis on the exception) 9. การใช้มาตรการหลาย ๆ อย่าง (multiple criteria) 10. การแก้ไขให้ถูกต้อง (corrective action)

การควบคุมทางข้อมูล (Information) Data

การควบคุมการดำเนินงาน (operations control) 1. การควบคุมต้นทุน 2. การควบคุมการจัดซื้อ 3. การควบคุม การบำรุงรักษา 4. การควบคุมคุณภาพ 5. ระบบสินค้าคงเหลือ

1. การควบคุมต้นทุน ทุกหน่วยงานจะต้องควบคุมต้นทุนให้เกิดขึ้นอย่างเหมาะสมและควบคุมอยู่ตลอดเวลา

2. การควบคุมการจัดซื้อ 2.1 การสร้างความสัมพันธ์กับผู้ขาย 2.2 ระบบการสั่งซื้อ กำหนดว่าควรจะสั่งซื้อสินค้าอีกเมื่อไร สินค้าที่สั่งเข้ามาใหม่จะมาถึงในเวลาเดียวกันกับที่สินค้าคงเหลือในคลังสินค้าหมดพอดี

2.3 จำนวนการสั่งซื้อที่ประหยัด

3. การควบคุม การบำรุงรักษา ระบบการผลิตที่ สามารถใช้อุปกรณ์ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด การขายสินค้าและบริการ ให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

การควบคุม การบำรุงรักษา 1. โดยการป้องกัน 2. โดยการแก้ไข 3. โดยการตรวจสภาพ

4. การควบคุมคุณภาพ สินค้าและบริการเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด การควบคุมคุณภาพจะต้องเริ่มตั้งแต่วัตถุดิบมาจนถึงสินค้าสำเร็จรูป

การควบคุมทางการเงิน (Financial Control) งบประมาณ Budget อัตราส่วนทางการเงิน Financial ratio Liquidity Asset management Debt management Profitability Market Value

Management by walking around การควบคุมพฤติกรรม 1. การควบคุมโดยตรง Management by walking around

2. การประเมินผลการปฏิบัติงาน การเขียนรายงาน การบันทึกเหตุการณ์ สำคัญ วิธี 360 degree feed back