การจัดการความรู้สำหรับองค์กร ผศ. ดร. สมชาย นำประเสริฐชัย ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ KM by S. Numprasertchai
แนวคิดการพัฒนาการจัดการความรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการความรู้ กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน สร้างแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ ผสานกิจกรรมการจัดการความรู้กับภารกิจ ไม่สร้างภาระงานใหม่ที่ไม่จำเป็นเพิ่มเติม ลงมือปฏิบัติและเรียนรู้จากเรื่องจริง ประเมินและปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการความรู้ให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น KM by S. Numprasertchai
รูปแบบการจัดการความรู้ของ ม.เกษตรศาสตร์ KM by S. Numprasertchai
3 กลยุทธ์การจัดการความรู้ของ มก. การพัฒนาความรู้ภายในมหาวิทยาลัย การใช้ความรู้จากเครือข่ายภายนอก การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยสนับสนุนการดำเนินการ กิจกรรมการจัดการความรู้ การพัฒนาความรู้ภายใน การใช้ความรู้จากเครือข่ายภายนอก การนำ ICT มาช่วยสนับสนุนการดำเนินการ KM by S. Numprasertchai
กิจกรรมการจัดการความรู้ของ ม.เกษตรศาสตร์ KM@KU4Learning KM@KU4R&D KM@KU4SocialService KM@KU4CulturalPreservation ทุกหน่วยงานมีส่วนร่วมดำเนินการ KM by S. Numprasertchai
IT Cyber Zone: การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ Building learning community KM by S. Numprasertchai Students from different faculties can share their experience in IT cyber Zones.
KULN: การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ KULC (KU Learning Center) Informal environment at the main library KM by S. Numprasertchai
การแลกเปลี่ยนความรู้ผ่าน VideoConference KM by S. Numprasertchai
ตัวอย่าง การจัดการความรู้ เพื่อ วิจัยและพัฒนา ตัวอย่าง การจัดการความรู้ เพื่อ วิจัยและพัฒนา KM by S. Numprasertchai
แนวคิดการจัดการความรู้เพื่อวิจัยและพัฒนา KM Processes Research & Innovation Process R&D Outputs & Innovation Organization KM by S. Numprasertchai
กระบวนการจัดการความรู้ กิจกรรมทั่วไปในกระบวนการจัดการความรู้ประกอบด้วยกิจกรรมการกำหนด จัดหา พัฒนา แบ่งปัน/เผยแพร่ ใช้และจัดเก็บความรู้ KM process กิจกรรม (Activities) Knowledge identification กำหนดความรู้และแหล่งความรู้ Knowledge utilization ใช้และนำความรู้กลับมาใช้ใหม่ Knowledge acquisition จัดหาความรู้จากภายนอกองค์กร (พันธมิตร ผู้เชี่ยวชาญ ที่ปรึกษา และแหล่งความรู้ภายนอกอื่นๆ ) Knowledge development พัฒนาความรู้ขึ้นใหม่ภายในองค์กร Knowledge transfer การถ่ายทอด/แบ่งปันความรู้ระหว่างบุคคลและกลุ่ม Knowledge storage การจัดเก็บความรู้ทั้งในรูปแบบ tacit และ explicit KM by S. Numprasertchai
การจัดการความรู้เพื่อ วิจัยและพัฒนา Innovation Process Key KM Processes Knowledge Identification Knowledge Utilization Knowledge Acquisition Knowledge Development Knowledge Integration Knowledge Transfer Knowledge Storage & Maintenance Idea generation XX X Research design Concept evaluation & selection R&D process Integrate knowledge /research outputs Production design (Prototype) Overall evaluation Production Market Entry XX is indicating that the a specific KM process dominates the other KM process in the according phase, while X is indicating that the KM process plays a secondary role in the according phase of the innovation process. KM by S. Numprasertchai
การจัดการความรู้ เพื่อ วิจัยและพัฒนา Target knowledge to achieve an innovation Knowledge Use Knowledge Acquisition Knowledge Development In-house Existing Knowledge Required knowledge Knowledge Integration Knowledge Transfer Knowledge Storage KM New Knowledge Explicit knowledge Tacit knowledge KM process is embedded in the innovation process (Numprasertchai & Igel, 2003 (IJTM)). KM by S. Numprasertchai
การจัดการความรู้เพื่อ วิจัยและพัฒนา นวัตกรรม : product innovation, process innovation, and service innovation ผลลัพธ์การวิจัย & new knowledge, skilled researchers, publications, prototypes, patents, new products, processes, services, etc KM Practices in Innovation Management Process การพัฒนาภายใน เครือข่ายวิจัย Knowledge creation Knowledge Acquisition เทคโนโลยี: ICTs as Knowledge enabling tools email, search engine, Communication applications, Electronic journals, online video conference, Research database, Knowledge pools, etc KM by S. Numprasertchai
การจัดการความรู้ด้วยพันธมิตร Government agencies Industries Identifying country research direction Supporting research funding Providing basic knowledge Identifying research problems Supporting research funding Marketing Increasing country based knowledge and competitiveness Increasing new products, processes, services, and other innovations Universities Increasing knowledge, publications, patents, prototypes, funding Conducting research Creating skilled researchers Inventing and building new knowledge KM by S. Numprasertchai
Thank you for your attention ขอบคุณครับ Thank you for your attention 本当にありがとう 謝謝 KM by S. Numprasertchai