รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
Advertisements

GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
มาตรการประหยัดพลังงาน ตามมติคณะรัฐมนตรี 20 มีนาคม 2555
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง
มาตรฐานการจัดการใช้พลังงานในส่วนราชการ กลุ่มที่ 5 โดย สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สนับสนุนโดย สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน.
มาตรฐานการจัดการใช้พลังงานในส่วนราชการ กลุ่มที่ 7 โดย สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สนับสนุนโดย สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน.
มาตรฐานการจัดการใช้พลังงานในส่วนราชการ กลุ่มที่ 9 โดย สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สนับสนุนโดย สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน.
มาตรฐานการจัดการใช้พลังงานในส่วนราชการ กลุ่มที่ 6
มาตรฐานการจัดการใช้พลังงานในส่วนราชการ กลุ่มที่ 4 โดย สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สนับสนุนโดย สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน.
มาตรฐานการจัดการใช้พลังงานในส่วนราชการ กลุ่มที่ 3
มาตรฐานการจัดการใช้พลังงานในส่วนราชการ กลุ่มที่ 2
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
การประชุมนำเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
คำอธิบาย ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ขอต้อนรับคณะผู้ตรวจประเมินฯ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
สรุปการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
หมวด2 9 คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
โดย : สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ.
โครงสร้างฟอร์มการรายงานข้อมูล
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
การดำเนินงาน ตามมาตรการประหยัด พลังงานและไฟฟ้า (ผต.สุจริตฯ และ สบก.) วาระที่ 4.7.
ข้อเสนอตัวชี้วัดของกรมทรัพยากรน้ำ ปี ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการ ให้บริการสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ผ่านระบบเครือข่าย เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดตามคำรับรอง การปฎิบัติราชการปี 2548 ด้านสังคม.
ลักษณะสำคัญขององค์กร
โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
29 พฤษภาคม ความเป็นมา ตัวชี้วัดที่ 2.1 พีรพร พร้อมเทพ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมส่งเสริม การเกษตร.
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบปรับอากาศ.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
บริการ ICT ที่เป็นเลิศและเข้าถึงได้
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สำนักช่วยเหลือผู้ประสบภัย มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. ช่วยเหลือและบรรเทาเหตุเบื้องต้นแก่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด) มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการการประหยัดพลังงาน” โดย นางสาวชนานัญ บัวเขียว รักษาราชการแทนผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน นโยบายและแผนอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ณ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงมหาดไทย 25 พฤศจิกายน 2551

กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)

มติคณะรัฐมนตรี 17 พฤษภาคม 2548 ให้หน่วยงานราชการลดการใช้พลังงานลง ร้อยละ 10 - 15 เทียบกับปี 2546 ให้ ก.พ.ร. กำหนดเป็นตัวชี้วัด (KPI) ผลปฏิบัติราชการของทุกส่วนราชการ เริ่มตั้งแต่ปี 2549 ปัญหาการดำเนินงาน ได้รับคำอุทธรณ์ ชั่วโมงให้บริการ มากขึ้น ปริมาณงาน มากขึ้น ผู้มารับบริการ มากขึ้น จำนวนนักเรียน นักศึกษา มากขึ้น การออกให้บริการ ซึ่งต้องให้บริการ มากขึ้น ฯลฯ ลดการใช้พลังงานของอย่างผิดวิธี เช่น ลดการให้บริการ ปรับเปลี่ยนงบประมาณ ลดการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น 5 !!&##

มติคณะรัฐมนตรี 13 มีนาคม 2550 ใช้เกณฑ์ใหม่ “ค่ามาตรฐานการจัดการใช้พลังงาน” เริ่มปีงบประมาณ 2551 ตัวแปรจากลักษณะการทำงาน เช่น จำนวนบุคลากร พื้นที่ใช้สอยภายในอาคาร เวลาการทำงาน จำนวนผู้เข้ามาใช้บริการ การออกให้บริการ เป็นต้น ตัวแปรจากสภาวะแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ ระยะห่างจากตัวจังหวัดที่ตั้ง เป็นต้น กลุ่มทั่วไป กลุ่มโรงพยาบาลและสถานีอนามัย กลุ่มโรงเรียน กลุ่มศาลและสำนักงานอัยการ กลุ่มเรือนจำและสถานคุมประพฤติ กลุ่มสถานีตำรวจ กลุ่มสถาบันอุดมศึกษาและสถาบันอาชีวศึกษา กลุ่มสถานสงเคราะห์ กลุ่มสถานีวิทยุและสถานีเครื่องส่งสัญญาณ

“ค่ามาตรฐานการจัดการใช้พลังงาน” สิ่งที่เกิดจริง = การตัดสิน VS ที่ได้จากสมการ ที่ได้ใบเสร็จค่าไฟฟ้า /ค่าน้ำมัน ทั้งปี ค่าการใช้พลังงานมาตรฐาน – ค่าการใช้พลังงานจริง ค่าการใช้พลังงานจริง ดัชนีมีค่าเป็น “บวก” (+) การใช้พลังงาน “ผ่าน” เกณฑ์มาตรฐาน มีการใช้พลังงานที่ดีแล้ว ดัชนีมีค่าเป็น “ลบ” (-) การใช้พลังงาน “ไม่ผ่าน” เกณฑ์มาตรฐาน ต้องปรับปรุงการใช้พลังงาน

เปรียบเทียบกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปี 2551 VS ปี 2552 ระดับ คะแนน ไฟฟ้า (น้ำมัน) เกณฑ์การให้คะแนน 2551 เกณฑ์การให้คะแนน 2552 1 0.5 (0.5) ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ครบถ้วน 2 ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการจัดทำ EUI ครบถ้วน 3 ปริมาณการใช้จริง > ปริมาณการใช้มาตรฐาน ตั้งแต่ 1.5 เท่า ถึง 2 เท่าของ การใช้มาตรฐาน หรือ มี EUI อยู่ในช่วง -0.334 ถึง -0.500 4 ปริมาณการใช้จริง > ปริมาณการใช้มาตรฐาน ตั้งแต่ 1.2 เท่า ถึง 1.5 เท่าของ การใช้มาตรฐาน หรือ มีหรือ มี EUI อยู่ในช่วง -0.333 ถึง -0.167 5 ปริมาณการใช้จริง > ปริมาณการใช้มาตรฐาน ตั้งแต่ 1 เท่า ถึง 1.2 เท่าของ การใช้มาตรฐาน หรือ มีหรือ มี EUI อยู่ในช่วง -0.166 ถึง 0 กรณี ปริมาณการใช้จริง < ปริมาณการใช้มาตรฐาน มี EUI > 0 จะได้คะแนนเต็มในการประเมินผล 1.5 คะแนน (1.5 คะแนน) รวม 2.5(2.5)  มีการทบทวนการจัดตั้งคณะทำงานลดใช้พลังงาน โดยหัวหน้าส่วนราชการเป็นประธาน และมีการทบทวนแผนปฏิบัติการลดใช้พลังงานที่เกิดจากความมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ และมีแผนติดตามผล     ข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ครบถ้วน และข้อมูลพื้นฐานสำหรับการจัดทำ EUI ครบถ้วน    ต้องได้คะแนนเต็มในขั้นตอนที่ 1 และ 2 จึงจะประเมินในขั้นตอนที่ 3-5

ตัวชี้วัดที่ 10 (น้ำหนักร้อยละ 3) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการการประหยัดพลังงาน” คำอธิบาย: ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ จะพิจารณาจาก 1) ความมีส่วนร่วมของข้าราชการ/เจ้าพนักงานในหน่วยงาน ในการลดการใช้พลังงาน ทบทวนการจัดตั้งคณะทำงาน + ทบทวนแผนปฏิบัติการ 2) ความครบถ้วนของข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า (kWh) ข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง (ลิตร) และข้อมูลพื้นฐานสำหรับการจัดทำดัชนีการใช้พลังงาน เช่น เวลาที่ให้บริการ จำนวนบุคลากร พื้นที่ของอาคารที่การให้บริการ เป็นต้น 3-5) พิจารณาปริมาณพลังงานที่ส่วนราชการใช้จริง โดยเปรียบเทียบกับปริมาณพลังงานมาตรฐาน ที่หน่วยงานควรจะใช้อย่างเหมาะสมตามปัจจัยที่มีผลต่อการใช้พลังงานของหน่วยงาน 0.5 +0.5 คะแนน 0.5 +0.5 คะแนน 1.5 +1.5 คะแนน รวม 2.5 +2.5 คะแนน SEU/SFU ปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันมาตรฐาน (Standard Electricity Utilization/ Standard Fuel Utilization) AEU/AFU ค่าการใช้พลังงานไฟฟ้า/น้ำมันจริง (Actual Electricity Utilization / Actual Fuel Utilization)

โดยใช้ข้อมูลตามที่รายงานและจัดเก็บ ของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน www.e-report.energy.go.th ของสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน บิดเบือนข้อมูลเพื่อให้ได้ผลการประเมินที่ดี

  ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน 1) การทบทวนการจัดตั้งคณะทำงานลดใช้พลังงาน โดยหัวหน้าส่วนราชการเป็นประธาน และมีการทบทวนแผนปฏิบัติการลดใช้พลังงานที่เกิดจากความมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ และมีแผนติดตามผล ระดับที่ 1 : 0.5 + 0.5 คะแนน  

ทบทวนการจัดตั้งคณะทำงาน + ทบทวนแผนปฏิบัติการ ระดับที่ 1.1 : 0.5 คะแนน ระดับที่ 1.2 : 0.5 คะแนน ทบทวนการจัดตั้งคณะทำงาน + ทบทวนแผนปฏิบัติการ

  ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน 2) ความครบถ้วนของข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า (kWh) ข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง (ลิตร) และ ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการจัดทำดัชนีการใช้พลังงาน เช่น เวลาที่ให้บริการ จำนวนบุคลากร พื้นที่ของอาคารที่การให้บริการ เป็นต้น ระดับที่ 2 : 0.5 + 0.5 คะแนน  

ระดับที่ 2.1 : 0.25 คะแนน ระดับที่ 2.1 : 0.25 คะแนน

จริง มาตรฐาน ระดับที่ 2.2 : 0.5 คะแนน ระดับที่ 2.2 : 0.5 คะแนน จริง มาตรฐาน ระดับที่ 3 ถึง 5 : 1.5 + 1.5 คะแนน

ค่าการใช้พลังงานมาตรฐาน – ค่าการใช้พลังงานจริง ค่าการใช้พลังงานจริง ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน ต้องได้คะแนนเต็มในขั้นตอนที่ 1 และ 2 จึงจะประเมินในขั้นตอนที่ 3-5 3) ถึง 5) พิจารณาปริมาณพลังงานที่ส่วนราชการใช้จริง โดยเปรียบเทียบกับปริมาณพลังงานมาตรฐาน ที่หน่วยงานควรจะใช้อย่างเหมาะสมตามปัจจัยที่มีผลต่อการใช้พลังงานของหน่วยงาน EUI อยู่ในช่วง -0.334 ถึง -0.500 ระดับคะแนนที่ 3 +0.0 ถึง 0.5 คะแนน AEU EUI อยู่ในช่วง -0.333 ถึง -0.167 ระดับคะแนนที่ 4 +0.5 ถึง 1.0 คะแนน EUI อยู่ในช่วง -0.166 ถึง 0.000 ระดับคะแนนที่ 5 +1.0 ถึง 1.5 คะแนน ค่าการใช้พลังงานมาตรฐาน – ค่าการใช้พลังงานจริง ค่าการใช้พลังงานจริง การประเมินคะแนนในขั้นตอนที่ 3 4 และ 5 ค่าดัชนีการใช้พลังงานที่ได้จริงอยู่ระหว่างค่าขอบเขตจะใช้วิธีเทียบบัญญัติไตรยางศ์ (คะแนน ช่วงละ 0.5 /EUI ช่วงละ 0.166) SEU

วิธีและเกณฑ์การให้คะแนนของส่วนราชการ ที่มีหลายหน่วยงาน ประเมินผลคะแนนของแต่ละหน่วยงานของส่วนราชการตามขั้นตอน เพื่อหาคะแนนของแต่ละหน่วยงาน แล้วนำมาพิจารณาให้คะแนนของส่วนราชการนั้น โดยคิดจากค่าเฉลี่ยของหน่วยงานในส่วนราชการทั้งหมด ปริมาณการใช้ไฟฟ้า(น้ำมัน) มาตรฐาน คำนวณจากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่ได้จากการวิเคราะห์ผลของข้อมูลปัจจัยพื้นฐานต่อปริมาณการใช้พลังงานของหน่วยงานในแต่กลุ่ม โดยในการวิเคราะห์นั้นจะพิจารณาตัวแปรที่มีผลต่อการใช้พลังงานของหน่วยงาน แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ตัวแปรจากลักษณะการทำงาน เช่น จำนวนบุคลากร พื้นที่ใช้สอยภายในอาคาร เวลาการทำงาน จำนวนผู้เข้ามาใช้บริการ การออกให้บริการ เป็นต้น ตัวแปรจากสภาวะแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ ระยะห่างจากตัวจังหวัดที่ตั้ง พื้นที่ของอำเภอที่ตั้ง พื้นที่ของจังหวัดที่ตั้ง เป็นต้น ค่าการใช้พลังงานไฟฟ้า(น้ำมัน) จริง คือ ปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมัน ที่หน่วยงานรายงานผ่าน www.e-report.energy.go.th ครบ 12 เดือน

หน่วยงานปฏิบัติ ส่วนจังหวัด สถาบัน อุดมศึกษา ส่วนราชการ ร้อยละ 3 สถาบัน อุดมศึกษา ที่เป็นราชการบริหารส่วนกลางในสังกัด กรมที่จัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวง ที่เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคที่ จัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวง ประเมินผลคะแนนของแต่ละหน่วยงาน ส่วนราชการที่ตั้งขึ้นเป็นหน่วยงาน ภายในกรมนั้น ตามกฎกระทรวง แต่ ปฏิบัติงานอยู่ในภูมิภาค แล้วคิดจากค่าเฉลี่ยของหน่วยงานในส่วนราชการทั้งหมด ส่วนราชการที่ตั้งขึ้นเป็นหน่วยงาน ภายในกรมนั้น ที่ไม่ได้จัดตั้งขึ้น ตามกฎกระทรวง การรายงานผลการดำเนินงานและการ ประเมินผลของส่วนราชการนั้นๆ ให้พิจารณาจากสถานที่ตั้งของส่วนราชการ ว่า ตั้งอยู่ ณ จังหวัดใด ให้รายงานผลการ ดำเนินงานไปรวมกับจังหวัดที่ตั้งอยู่นั้น น้ำหนัก : ร้อยละ 3 ร้อยละ 3 ร้อยละ 2

ส่วนจังหวัด Click ดูรายละเอียด Click ดู graph

จังหวัดเลย Click

< < < < < < < < > < <

จังหวัดสงขลา Click

> < > < < < < > > > <

รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด) มิติที่ 3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการการประหยัดพลังงาน” สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร 0 2612 1555 ต่อ 362-364