รพ.สร้างเสริมสุขภาพตำบล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
Advertisements

ภารกิจนักสุขภาพครอบครัว
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
นักสุขภาพครอบครัว กับการเปลี่ยนแปลง๒๕๕๔ มุ่งมั่น พยายาม อดทน รอคอย 1.
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ภาวะผู้นำกับการบริหาร
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ทางออกการจัดการปัญหา คนพิการเชิงรุก นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 10.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
“ประชาชนมีญาติเป็นหมอ” หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ปฐมภูมิ กับการเปลี่ยนแปลง อำเภอสุขภาพเข้มแข็ง ศรัทธา มุ่งมั่น พยายาม
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโพนทอง
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รพ.สร้างเสริมสุขภาพตำบล บทบาท อสม. และ รพ.สร้างเสริมสุขภาพตำบล ตามนโยบาย รมว.สาธารณสุข นพ.นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 10

ธงนำ ประชาชนแข็งแรงและไม่ป่วย ป่วยเล็กน้อยดูแลใกล้บ้าน “สะดวก รวดเร็ว คุณภาพ” ป่วยมากส่งต่อรักษา “ รับผิดชอบ เอื้ออาทร” ป่วยเรื้อรัง “เยี่ยมเยียนด้วยความห่วงใย”

หมออนามัย ประชาชน อสม. รพ.สร้างเสริม สุขภาพตำบล

ลักษณะบริการ ประชาชนเข้าถึงบริการเท่าเทียมกัน บริการต่อเนื่อง บูรณาการ “ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู” ประสานทุกภาคส่วน ชุมชนเป็นเจ้าของช่วยดูแลระบบ

ส่งต่อรักษา รับผิดชอบ เอื้ออาทร บริการ ปฐมภูมิ สมบูรณ์แบบ ชุมชน มีส่วนร่วม รพส. ตำบล ส่งต่อรักษา รับผิดชอบ เอื้ออาทร

ส่งเสริมบทบาท อสม. ปฏิบัติงานเชิงรุก โครงสร้าง รพ1 2 3..n 3...n 2 ม1 20 3 2 อ1 อสม. (อ) ดูแล 20 หลังคาเรือน (ป 80 คน) หมออนามัย (ม) ดูแล 20 อสม. (ป 1,400 คน) รพ.สร้างเสริมฯ (รพ.ส.ต) ดูแล 8 หมออนามัย (ป 10,000 คน)

รพ.สร้างเสริมฯ ตำบล อยู่ในตำบล รวม สอ.เป็นเครือข่าย ประชากร ประมาณ 10,000 คน (7-9 หมู่บ้าน ) ทีมงานสาธารณสุข 8-9 คน

ทีมงานสาธารณสุข 1. ผู้จัดการ 1 คน 2. พยาบาลเวชปฏิบัติ 2-3 คน 3. นักปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1 คน 4. นักให้คำปรึกษา 1 คน 5. นักสอบสวนโรค 1 คน 6. นักจัดการยุทธศาสตร์ 1 คน

บทบาท อสม. 1.ดูแลประชากรชัดเจน แบบญาติมิตร 2.ประสานการดูแลสุขภาพ ครอบครัวเดียวกัน(20 หลังคาเรือน 80 คน) 2.ประสานการดูแลสุขภาพ 2.1 วัณโรค 2.2 ฝากท้อง พาไปคลอด ลูกกินนมแม่ 2.3 กำจัดลูกน้ำยุงลาย 2.4 ผู้พิการ-คนชรา

บทบาทหมออนามัย 1.ดูแลประชาชน “ครบคน ครบเรื่องป่วย ครบเวลา” 1.ดูแลประชาชน “ครบคน ครบเรื่องป่วย ครบเวลา” 2.ดูแล อสม. “เพื่อนใกล้ชิด ร่วมด้วย ช่วยกัน” 3.ทำงานเป็นทีมอย่างแข็งขัน “ เปลี่ยนครัวเรือน เป็นที่ทำงาน” 4.บริการ รพ.สร้างเสริมสุขภาพตำบล มีประสิทธิภาพ “รับผิดชอบครบวงจร”

“รับผิดชอบครบวงจร” ส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคไม่ให้คนป่วย จัดยาจำเป็นครัวเรือน รักษาเบื้องต้น “ดูแลที่บ้าน” ส่งต่อรักษา “เอื้ออาทร เจ้าของไข้” เยี่ยมที่บ้าน “ด้วยความห่วงใย”

บทบาทสาธารณสุขอำเภอ เป็นผู้จัดการสุขภาพ(Project manager) บริหารพื้นที่เป็นฐาน หลักการ “รวมคน รวมเงิน รวมงาน” บริหารงบประมาณ ส่งเสริมสุขภาพอย่าง โปร่งใส ผลักดัน รพส. ตำบล สมบูรณ์แบบจำนวน 1 ใน 3 ของอำเภอ

บทบาท ผอก. รพช. เป็นที่ปรึกษา/ช่วยสาธารณสุขอำเภอ Project manager เติมคน จัดทีมครบถ้วน เติมใจ ค่าตอบแทน ขวัญกำลังใจ เติมสมอง เสริมความรู้ หนุนเสริมเต็มที่ อบรมพยาบาลเวชปฏิบัติ, อุปกรณ์การแพทย์ , ส่งต่อ

บทบาท ผอก. รพท./รพศ. หนุนเสริมสุด ๆ ดูแลการส่งต่อผู้ป่วย “สร้าง รพ.สร้างเสริมฯ ตำบลตัวอย่าง” ดูแลการส่งต่อผู้ป่วย “เอื้ออาทร ไม่มีเงื่อนไข ทุกกรณี”

เงื่อนไขความสำเร็จ 1.เลือกพื้นที่ทดลอง ประชากรประมาณ 10,000 คน ทีมงาน 8-9 คน “รวมคน รวมเงิน รวมงาน” พยาบาลเวชฯ/วางแผนจะมี 2-3 คน รวมเครือข่าย สถานีอนามัย

2.ปรับแผนงบลงทุน ปรับปรุงอาคารเครือข่ายทุก สอ. รถส่งต่อผู้ป่วย รถจักรยานยนต์คนละ 1 คัน โทรศัพท์มือถือ สิ่งอำนวยความสะดวกให้สุขศึกษา

การสร้างความเข้มแข็งของระบบ 1. สมาชิกมีสัมพันธ์แนบแน่น อสม. * ประชาชน 80 คน * เบาหวาน 3 คน * ผู้สูงอายุ 8 คน * ผู้พิการ 3 คน * ผู้ป่วยทางจิต 2 คน * พาคนท้องไปคลอด 2 คน * สอนลูกกินนมแม่ 2 คน

2.เยี่ยมสมาชิกป่วยที่ รพ. 3.เป็นเพื่อนผู้สูงอายุ ผู้พิการ 2.เป็นตัวกลางส่งต่อผู้ป่วยผ่านมือถือ (แจกเบอร์สมาชิก) 1.ส่งต่อ 1669 2.เยี่ยมสมาชิกป่วยที่ รพ. 3.เป็นเพื่อนผู้สูงอายุ ผู้พิการ

หมออนามัย: อสม. พบปะกันทุกสัปดาห์ ประชุมกันทุกเดือน

ยุทธวิธีสร้างความผูกพัน ระหว่างหมออนามัยกับ อสม. ค่าตอบแทน สวัสดิการดูแลความเจ็บป่วย บุตรเรียน สาธารณสุข ฌาปนกิจ ให้รางวัล

ขวัญกำลังใจหมออนามัย บรรจุเป็นข้าราชการ ค่าตอบแทน เสริมบทบาทสมาคม พบปะระดับเขต ให้รางวัลดูงาน

ระดับตำบล (เล็กสุด) ประชากร 10,000 คน เงิน ของ หมออนามัย พนักงาน เยี่ยมบ้าน 5 เสือปฐมภูมิ PP เชิงรุก สร้างนำซ่อม “ทำมากได้มาก ทำยากได้เยอะ” งบลงทุน (50:50) ยืมใช้ สมบัติร่วมกัน

- บริหารกิจกรรม/โครงการ การบริหาร รพส.ตำบล - บริหารคน - บริหารงบประมาณ - บริหารกิจกรรม/โครงการ

การบริหารบุคคล รพส.ตำบล ภาวะผู้นำกับการบริหาร บริหารด้วยกรรมการ (มีส่วนร่วม) แบ่งหน้าที่ชัดเจน ( 5 เสือปฐมภูมิ ) สร้างขวัญกำลังใจทีม (ค่าตอบแทน) ความสะดวกปลอดภัยในการทำงาน

รวมคน “รวมทีม” สา’สุข 8 – 10 คน/ป 10000 “รวมทีม” สา’สุข 8 – 10 คน/ป 10000 อสม.กองหน้า “ญาติมิตรผู้ใกล้ชิด” อปท.“ร่วมรับผิดชอบ เพื่ออยู่ดีมีแฮง”

ทีมงานประชุมทุกเดือน รายงานการประชุม CL SM NP SR FM ทีมงานประชุมทุกเดือน รายงานการประชุม

Leadership กับการสร้างทีม ชมเชยข้อเด่นของผู้ร่วมงาน หยุดตำหนิข้อด้อยของทีมงาน อดทนแนะนำแนวทางด้วยความทะนุถนอม ยุติข่าวลือติฉินนินทาด้วยความมั่นคง กระตุ้นปลุกเร้าทุกคนให้เห็นความสำเร็จ

Leadership 1. Establishing Direction : กำหนดทิศ 2. Building Alliances : คิดสร้างประสาน 3. Motivating & Inspiring : ชำนาญการปลุกเร้า

การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ภาครัฐ อสม +ท้องถิ่น+NGO +ภาคประชาชน ส่งเสริม+ป้องกัน (สร้าง) รักษา+ฟื้นฟู (ซ่อม)

หลักการเศรษฐกิจพอเพียง บริหารงบประมาณ หลักการเศรษฐกิจพอเพียง งบ PP ทุกหมวด งบ เงินบำรุง งบภาระกิจเฉพาะจาก สปสช งบร่วมกับ อปท. งบ OPD จาก รพ. โอนตรงตามจ่าย? ควบคุมยอดใช้?

“รวมเงิน” เงิน OPD และ PP จากงบ UC งบประมาณจาก อปท. งบ Vertical Program จาก สปสช. เงินสมทบจากการบริจาค อื่น ๆ จากกระทรวง

การบริหารกิจกรรม/โครงการ แบ่งหมู่บ้านรับผิดชอบ(เจ้าภาพ) มีบันทึกคู่มือการทำงาน มีเครือข่าย อสม.ชัดเจน สร้างขวัญกำลังใจทีม (ค่าตอบแทน) สัมพันธ์ อสม.(พบปะทุกสัปดาห์) จัดระบบเยี่ยมบ้าน (เดี่ยว,คู่,ทีม) แบ่งหมู่บ้านรับผิดชอบ(เจ้าภาพ) มีบันทึกคู่มือการทำงาน มีเครือข่าย อสม.ชัดเจน สร้างขวัญกำลังใจทีม (ค่าตอบแทน) สัมพันธ์ อสม.(พบปะทุกสัปดาห์) จัดระบบเยี่ยมบ้าน (เดี่ยว,คู่,ทีม)

ปฐมภูมิคุณภาพ  ประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ร่วมก่องาน สสม.  ประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ร่วมก่องาน สสม.  ต่อยอดงานรักษา  ส่งต่อเมื่อจำเป็น

ตติยภูมิ รพท/ศ. ทุติยภูมิ รพช. ปฐมภูมิ สอ. อ จ สุขภาวะ พิการ EMS DHF ตติยภูมิ รพท/ศ. ทุติยภูมิ รพช. ปฐมภูมิ สอ. EMS DHF DM MCH พิการ อ จ

“รวมงาน” บุคคลและครัวเรือนเป็นเป้าหมาย ทุกคนช่วยกันดูแลสุขภาพ มีตู้ยาครัวเรือนมียาจำเป็นเร่งด่วน ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ไม่ถูกทอดทิ้ง เจ็บป่วยดูแลครบวงจร

5.1 ผู้ส่งต่อเป็น “เจ้าของไข้” “รวมงาน” (ต่อ) 5.1 ผู้ส่งต่อเป็น “เจ้าของไข้” 5.2 ผู้รับยินดี “พรรคพวกส่งมา” 5.3 ทุกรพ.ร่วมมือ “หน่วยเดียวกัน” 5.4 ทุกรพ.แสดง “สามารถรักษาชัดเจน” 5.5 ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู ครบ

การประเมิน ประชาชนรวมกลุ่มเป็นชมรมดูแลสุขภาพกันเอง โรคเรื้อรังได้รับการดูแลต่อเนื่อง ไม่ขาดการติดต่อ ส่งต่อการแพทย์ฉุกเฉิน ชุมชนมีมาตรการทางสังคม ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ไม่ถูกทอดทิ้ง

สวัสดี