ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ต้นทุนค่ายา วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ประเด็น หลักที่ 4 การบริหาร จัดการระบบ สุขภาพ. 4.1 การ บริหาร การเงินการ คลัง CFO.
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
Point of care management Blood glucose meter
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
1. กระบวนการบริหารจัดการด้านการแพทย์และ สาธารณสุข 2. กระบวนการส่งเสริมและสนับสนุนระบบบริการด้าน การแพทย์และสาธารณสุข 3. กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาระบบบริการด้าน.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ (หน่วยบริการปฐมภูมิ) เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขตที่ 8 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

วิสัยทัศน์ (Vision) หน่วยบริการปฐมภูมิ เป็นหน่วยบริการของชุมชนที่มีคุณภาพ ทุกภาคีมีส่วนร่วม ผู้ให้บริการมีความสุข ชุมชนสุขภาพดี ภายในปี 2559 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

พัฒนาระบบบริหารจัดการ พันธกิจ (Mission) พัฒนาระบบบริหารจัดการ พัฒนาระบบบริการเชิงรุก และสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ พัฒนาระบบบริการในเครือข่ายให้มีประสิทธิภาพ พัฒนางานวิชาการและนวัตกรรมสุขภาพ พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

ผู้ให้บริการได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะอย่างต่อเนื่อง เป้าประสงค์ (Goal) ผู้รับบริการได้รับบริการที่มีคุณภาพ (องค์รวม ผสมผสาน ต่อ เนื่อง พึงพอใจ สามารถพึ่งตนเองได้) ผู้ให้บริการได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะอย่างต่อเนื่อง ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านสุขภาพของชุมชน หน่วยบริการปฐมภูมิผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

พัฒนาระบบสนับสนุนและกลไกการจัดการเชิงบูรณาการ ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบบริการและพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ การพัฒนาบุคลากร พัฒนาระบบสนับสนุนและกลไกการจัดการเชิงบูรณาการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

การพัฒนาระบบสนับสนุนและกลไกการจัดการเชิงบูรณาการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3: การพัฒนาระบบสนับสนุนและกลไกการจัดการเชิงบูรณาการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีระบบบริหารจัดการสนับสนุนหน่วยบริการปฐมภูมิ ที่มีประสิทธิภาพในทุกระดับ เพื่อให้มีกลไกการบริหารจัดการเชิงบูรณาการที่ชัดเจนในทุกระดับ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

เป้าหมาย ระบบสนับสนุน และกลไกการบริหารจัดการหน่วยบริการปฐมภูมิมีประสิทธิภาพ และเชื่อมโยงในทุกระดับ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

พัฒนาโครงสร้างและกำหนดบทบาทการสนับสนุนหน่วยบริการปฐมภูมิทุกระดับ กลยุทธ์ พัฒนาโครงสร้างและกำหนดบทบาทการสนับสนุนหน่วยบริการปฐมภูมิทุกระดับ เสริมสร้างภาคีเครือข่ายให้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง พัฒนารูปแบบให้บริการให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ สนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และงบประมาณที่ชัดเจน ทุกระดับ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

ร้อยละ 80 ของหน่วยบริการปฐมภูมิใน 5 จังหวัดภาคใต้ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก ตัวชี้วัด ร้อยละ 100 ของ สสจ.และ คป.สอ. มีโครงสร้าง และ ระบบการขับเคลื่อนหน่วยบริการปฐมภูมิที่เป็นรูปธรรม ร้อยละ 80 ของหน่วยบริการปฐมภูมิใน 5 จังหวัดภาคใต้ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 แผนงาน/โครงการ ตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาระบบสนับสนุนและกลไกการจัดการเชิงบูรณาการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

1.พัฒนาโครงสร้างและกำหนดบทบาทการสนับสนุน หน่วยบริการปฐมภูมิในทุกระดับ 1.1 จัดทำโครงสร้างผู้รับผิดชอบหลักของทุกระดับ 1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการในการดำเนินงานพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ 1.3 มีแผนพัฒนาและขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

2. เสริมสร้างภาคีเครือข่ายให้ มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง 2.1 ประชุมคณะกรรมการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ 2.2 จัดทำแผนพัฒนาสุขภาพตำบลโดยมีคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบลร่วมวิเคราะห์ และพิจารณาแผน 2.3 คณะกรรมการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิร่วมดำเนินงาน และร่วมประเมินผล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

3 กำหนดรูปแบบการพัฒนาระบบงานใน หน่วยบริการปฐมภูมิที่เป็นแนวทางแนวทางเดียวกัน 3.1 ระบบยา การจัดระบบคลังยาและเวชภัณฑ์ให้ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด บัญชียาระบบเดียวที่สอดคล้องกับโรงพยาบาลแม่ข่าย - มีการควบคุมคลังยาโดยเภสัชกร สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

3 กำหนดรูปแบบการพัฒนาระบบงานใน หน่วยบริการปฐมภูมิที่เป็นแนวทางแนวทางเดียวกัน 3.2 ระบบเชื่อมโยงบริการ สนับสนุนให้มีระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) จัดให้มีระบบช่องทางด่วน (Green Channel) จัดระบบไหลเวียนข้อมูล ส่งต่อ แจ้งกลับ - จัดระบบรองรับผู้ป่วย Refer back สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

จัดให้มี โปรแกรมเชื่อมต่อฐานข้อมูลระหว่างหน่วยบริการ 3 กำหนดรูปแบบการพัฒนาระบบงานใน หน่วยบริการปฐมภูมิที่เป็นแนวทางแนวทางเดียวกัน 3.3 ระบบข้อมูล จัดให้มี โปรแกรมเชื่อมต่อฐานข้อมูลระหว่างหน่วยบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

3 กำหนดรูปแบบการพัฒนาระบบงานใน หน่วยบริการปฐมภูมิที่เป็นแนวทางแนวทางเดียวกัน 3.4 ระบบชันสูตร - กำหนดมาตรฐานระบบชันสูตร - ควบคุมคุณภาพระบบชันสูตร โดยรพ.แม่ข่าย - พัฒนาระบบอิเลคทรอนิคส์ไฟล์ในการรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

3 กำหนดรูปแบบการพัฒนาระบบงานใน หน่วยบริการปฐมภูมิที่เป็นแนวทางแนวทางเดียวกัน 3.5 ระบบ Supply และระบบควบคุมป้องกันการติดเชื้อ ( IC ) - จัดทำ Central Supply ในทุก CUP - ระบบกำจัดขยะติดเชื้อ - ระบบปราศจากเชื้อของเครื่องมือทางการแพทย์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

4. จัดระบบสนับสนุนงบประมาณที่ชัดเจนทุกระดับ 4.1 สนับสนุนให้มี Fixed Cost (ค่าบริหารจัดการขั้นต่ำให้) หน่วยบริการปฐมภูมิทุกแห่ง 4.2 แม่ข่ายบริหารงบ OP เพื่อช่วยเหลือ หน่วยบริการปฐมภูมิที่ขาดสภาพคล่อง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล.................................................................................กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

สวัสดี