โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์โครงการ 3.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายโดยการอบรมให้ความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพจิตในครอบครัวและในชุมชน 3.2 พัฒนาตัวอย่างการดำเนินงานสุขภาพจิตในครอบครัวและชุมชนนำไปสู่ชนชนเข้มแข็ง.
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โครงการพัตนาสุขภาพจิตครอบครัว
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
การสร้างแผนงาน/โครงการ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
คณะทำงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเขต 12
เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงฯ เขตฯ10 ประจำปี วันที่ พ. ย ณ รร
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
แนวทางการบูรณาการ โครงการพัฒนาสุขภาพจิตใน เขต 11 และ 13 ประจำปีงบประมาณ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
สกลนครโมเดล.
ผลการคัดเลือกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่นระดับเขต/ภาค
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
DHS.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ทิศทางการดำเนินงานสุขภาพจิตสู่ระบบสุขภาพระดับอำเภอ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 12 โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ศูนย์สุขภาพจิตที่ 12

ระบบสุขภาพระดับอำเภอ ระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System: DHS) คือการดำเนินงานด้านสุขภาพร่วมกันของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องภายในอำเภอภายใต้บริบท และความต้องการของแต่ละอำเภอเป็นฐานการดำเนินงาน

จะบูรณาการงานสุขภาพจิตเข้ากับสุขภาพกาย ในแต่ละอำเภอได้อย่างไร โจทย์สำคัญ จะบูรณาการงานสุขภาพจิตเข้ากับสุขภาพกาย ในแต่ละอำเภอได้อย่างไร

การดำเนินงานสุขภาพจิตสู่ระบบสุขภาพอำเภอขับเคลื่อนภายใต้ โครงการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพจิตชุมชนที่ยั่งยืน KPI: จำนวนอำเภอที่มีความพร้อมมีการบูรณาการการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชนที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่น

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อบูรณาการงานสุขภาพจิต มิติการส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ในระบบสุขภาพอำเภอ 2. เพื่อพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชนภายในกลไก DHS

เป้าหมาย 1. อำเภอที่เข้าร่วมมีการบูรณาการงานสุขภาพจิตเข้ากับการดำเนินงานสุขภาพภายในอำเภอ( 7 จังหวัดๆละ 2 อำเภอ รวม 14 อำเภอ) 2. ประชาชนได้รับบริการสุขภาพจิตในมิติส่งเสริม ป้องกันตามบริบทของแต่ละอำเภอ

พื้นที่ดำเนินงานในเขตบริการสุขภาพที่ 12 ปี 2557 จังหวัด อำเภอ นราธิวาส ตากใบ,บาเจาะ ปัตตานี กะพ้อ,หนองจิก ยะลา รามัน,ยะหา สงขลา นาทวี,ระโนด พัทลุง ตะโหมด,ป่าพยอม สตูล ละงู,ควนโดน ตรัง ห้วยยอด,ปะเหลียน

แนวทางการดำเนินงาน 6. พัฒนาและเชิดชูเครือข่าย DHS งานสุขภาพจิต (Appreciation) ระดับประเทศ 5.จัดกระบวนการชื่นชมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ DHS ระดับเขต พ.ค.-มิ.ย.57 4.ติดตามสนับสนุนและประเมินผล (M&E) การดำเนินงานสุขภาพจิตสู่ DHS ระดับอำเภอ มีค-มิ.ย.57 3.บูรณาการงานสุขภาพจิตชุมชนตามกลุ่มวัยภายใต้แผนการดำเนินงานตามบริบทของพื้นที่(พื้นที่จัดกิจกรรมในอำเภอ) กพ.-มีค.57 2. สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพเครือข่าย DHS ในเรื่ององค์ความรู้สุขภาพจิต และแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชน(27-28 มค.57) ม.ค.-กพ.57 ม.ค.-กพ.57 1.แต่งตั้งคณะทำงานภายในอำเภอ

แนวทางการดำเนินงาน 13. สรุปผลการดำเนินงานและการจัดทำข้อเสนอแนะ ส.ค.57 12.กระบวนการวิเคราะห์ Evidence base และรวบรวม Good practice แบ่งเป็น 3 ครั้ง (ครั้งที่1) ม.ค.57 (ครั้งที่2) เม.ย.57 (ครั้งที่3) ก.ค.57 11. พัฒนาและเชิดชูเครือข่าย DHS งานสุขภาพจิต (Appreciation) ระดับประเทศ ก.ค.57 10. ติดตามสนับสนุนและประเมินผล (M & E) การดำเนินงานสุขภาพจิตสู่ DHS โดยผู้บริหารโครงการ (ครั้งที่1) ก.พ.57 (ครั้งที่2) มิ.ย.57

สวัสดี 10