ผลสำเร็จการดำเนินการ การดำเนินการในระยะต่อไป

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ต่อต้านการคอร์รัปชั่น
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
นายจิรชัย มูลทองโร่ย รองเลขาธิการ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
การค้ามนุษย์.
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การสื่อสารแผนที่ยุทธศาสตร์ ระดับองค์กร ระดับภาค ระดับพื้นที่
สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ ๒
การบริหารงานบุคคล กับคุณธรรมและจริยธรรม ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
คำอธิบาย พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินการ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรม จังหวัด ใสสะอาด
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
การทุจริตและประพฤติมิชอบ
มาตรการการป้องกันและปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ
สรุปรายงานการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐชุดใหม่ ครั้งที่ 1/2555 ตามที่นายพงษ์ไชย เกษมทวีศักดิ์
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงการ “พัฒนาชุมชนใสสะอาด”
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน
สำนักประสานและติดตามนโยบาย ???
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
แผนคำของบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2558 ( งบลงทุน ).
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 กันยายน 2557.
ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด สำนักงาน ปลัดกระทรวงพาณิชย์ “ หน่วยงานของรัฐ ที่มีกลไกกระบวนการบริหารงาน ตลอดจนการบริการประชาชนที่มีความโปร่งใส สามารถ ตรวจสอบได้
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลสำเร็จการดำเนินการ การดำเนินการในระยะต่อไป นโยบายที่ … : ....................... ผู้รับผิดชอบหลัก: .............................................................................. แบบฟอร์ม วัตถุประสงค์: ………………………………………………………………………………………………………………… เป้าหมาย: …………………………………………………………………………………………………………………… การดำเนินงาน ที่ผ่านมา ผลสำเร็จการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ/ การดำเนินการในระยะต่อไป

ตัวอย่าง ข้อเสนอแนะ/ ผลสำเร็จการดำเนินการ การดำเนินการในระยะต่อไป นโยบายที่ 1.3: ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ ผู้รับผิดชอบหลัก: รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล) และสำนักงาน ก.พ.ร. ตัวอย่าง เพื่อแก้ปัญหาและยกระดับการต่อต้านคอร์รัปชั่นของประเทศไทยให้อยู่ในระดับมาตรฐานสากล ตลอดจนสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหารราชการแผ่นดิน ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นไม่ต่ำกว่า 5.0 คะแนน ภายในเดือนกันยายน 2558 จัดทำยุทธศาสตร์และแผนงานเชิงรุก ผลสำเร็จการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ/ การดำเนินการในระยะต่อไป ประชาชนมีช่องทางร้องเรียนตลอด 24 ชั่วโมง จำนวนเรื่องร้องเรียน.......  ดำเนินการแล้วเสร็จ........ ประเภทเรื่องร้องเรียนที่มากที่สุด...........ดำเนินการ ......... พื้นที่ที่ได้รับการร้องเรียนมากที่สุด.....ดำเนินการ ....... หน่วยงานมีเรื่องร้องเรียนมากสุด .... ดำเนินการ ..... ... กระบวนการโปร่งใสในราชการ  ประชาชนพึงพอใจมากขึ้น .... % 19 ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นในกระทรวง ประกาศลงโทษผู้กระทำผิดอย่างจริงจัง.......กรณี แก้กฎ ก.พ.  สอบสวนลงโทษทุจริต<  120 วัน ระยะเวลาวิ่งเต้นน้อยลง หากผิด  ไม่ให้รับกลับเข้ารับราชการ เครือข่ายภาคประชาชนมีส่วนร่วมต่อต้านการทุจริต เพิ่มขึ้น ... % .....ของประชาชนมีความพึงพอใจต่อการดำเนินการของรัฐบาล สร้างมาตรการโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง  ระบบราคากลาง  การให้แต้มต่อแก่องค์กรเอกชนโปร่งใส วางระบบการแต่งตั้ง/ โยกย้ายโปร่งใส พัฒนากลไกการตรวจสอบ / การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย  สอดคล้องกับพันธกรณีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านทุจริต (UNCAC) สร้างความโปร่งใสการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น   ให้ความรู้ประชาชน / เอกชน  มีส่วนร่วมต่อต้านทุจริต  เปิดศูนย์ปฏิบัติการ (Anti-Corruption War Room) สร้างความโปร่งใสในหน่วยงาน (Clean Initiative) จัดตั้งศูนย์บัญชาการ นรม. (PM Task Force) แก้กฎ ก.พ. ประกาศลงโทษผู้กระทำผิดอย่างจริงจัง จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นในกระทรวง สัญจร 4 ภูมิภาค ประชาสัมพันธ์สร้าง ความตื่นตัวในเชิงรุก

ตัวอย่าง จากการประกาศ “ยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น” เป็นวาระแห่งชาติของรัฐบาล เมื่อวันที่ 18 พค.ที่ผ่านมา ถือเป็น การKick Off ของ“ยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น” ที่การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ (Clean Initiative Program) และเพื่อให้เกิดผลเป็นรูปธรรม จึงมีการจัดตั้งศูนย์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น (Anti-Corruption War Room) ) โดยมีปปท.เป็นผู้รับผิดชอบ ซึ่งจะเชื่อมโยงรายงานผลไปยังศูนย์บัญชาการนายกรัฐมนตรี (PM Task Force)ที่มีสลน.รับผิดชอบ รวมถึงเปิดสายด่วน 1206 และเวปไซด์ (PMOC. ) เพื่อรับเรื่องร้องรับเรื่องร้องเรียนตรงถึงนายกรัฐมนตรี เร่งรัดติดตามกรณีการดำเนินการล่าช้า/ มีการร้องเรียนซ้ำถึง นรม. (ใส่เพิ่มจำนวนเรื่องร้องเรียน หากมี) และเพื่อให้กระบวนงานของส่วนราชการ/ จังหวัดเกิดความโปร่งใส จึงกำหนดนโยบายให้ผู้บริหารส่วนราชการ แต่ละหน่วยงานเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาในการแก้ไข และการป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่นอย่างยั่งยืนเพื่อพิจารณาให้ลงนามในสัตยาบัน และนำไปสู่การปฎิบัติในช่วง ก.ค. 55 – มี.ค. 56 รวมถึงการติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลสำเร็จของการดำเนินการ โดยจะศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นในทุกกระทรวง ในช่วงเดือนสค.55 และเพื่อรองรับให้“ยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น” เกิดผลสัมฤทธิ์ ที่จะนำไปสู่การพัฒนาระบบการตรวจสอบจากภายนอก (Public Scrutiny) ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ และการพัฒนาผู้ประเมินอิสระ (Independent Assessor) รวมทั้งส่งเสริมองค์กรเอกชนโปร่งใส จัดทำ Positive Listและให้ Certificate of Corruption Free ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงมีการกำหนดแนวทางดำเนินการในระยะต่อไป ไม่ว่าจะเป็นการกำหนดมาตรการสนับสนุนการสร้างความโปร่งใสในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของทางราชการ เช่น ระบบราคากลาง การให้แต้มต่อแก่องค์กรเอกชนโปร่งใส ,การกำหนดแนวทางการวางระบบการแต่งตั้ง/ โยกย้ายที่โปร่งใส โดยอาศัยกลไกการตรวจสอบและมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ,การส่งเสริม ให้ความรู้ประชาชนและภาคเอกชน เพื่อเข้ามามีส่วนร่วมในการต่อต้านการทุจริต ,การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเพื่อให้สอดคล้องกับพันธกรณีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านทุจริต (UNCAC)รวมทั้ง สร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นอกจากนั้น ยังจะมีการ แก้กฎ ก.พ. เพื่อเร่งดำเนินการสอบสวนลงโทษกรณีทุจริตแล้วเสร็จภายใน 120 วัน ซึ่งจะทำให้การสอบสวนและลงโทษที่รวดเร็วขึ้น โดยจะทำให้มีระยะเวลาในการวิ่งเต้นน้อยลง และหากพบการกระทำผิดจะมีบทลงโทษตั้งแต่ การกำหนดไม่ให้ข้าราชการที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตเติบโตในสายงาน (Blacklist) ไม่สามารถเติบโตขึ้นไปเป็นผู้บริหารระดับสูง และกระทำการทุจริตต่อไปได้ รวมถึงกำหนดโทษรุนแรงสุด คือกำหนดไม่ให้ส่วนราชการรับผู้ถูกลงโทษทุจริตกลับเข้ารับราชการ เพื่อป้องกันการเกิดเหตุซ้ำ ถือเป็นการตัดวงจรการทุจริต ทั้งนี้ การดำเนินการตาม “ยุทธศาสตร์ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น” กล่าวก็เพื่อที่ยกระดับการต่อต้านคอร์รัปชั่นของประเทศไทยให้อยู่ในระดับมาตรฐานสากล ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ สร้างภาพลักษณ์ที่ดีและความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยทางกพร.ได้กำหนดเป้าหมายของดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นไม่ต่ำกว่า 5.0 คะแนน ภายในเดือนกันยายน 2558