“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กฎหมายทางการแพทย์ End-of-life Care
Advertisements

แบบนำเสนอผลงานโครงการ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
พยาบาลเปรมจิตร คล้ายเพ็ชร์ งานการพยาบาลศัลยศาสตร์ฯ
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
Lean ภาควิชาจิตเวชศาสตร์.
Nursery ก็ลดโลกร้อนได้
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
โครงการกรมการแพทย์ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แบบเบ็ดเสร็จ ปี 2551
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
การให้คำปรึกษาแบบเข้มข้น
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
ชื่อผลงาน ถุงมหัศจรรย์.
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
ระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วย
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
QA ready ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา 16 มกราคม 2556 เวลา 13:40-13:50.
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
การช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา นวัตกรรมผ้ายืดมหัศจรรย์
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรมหมวกนิรภัยให้แสงสว่าง
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
ศูนย์การเรียนรู้ (KM) Knowledge Management. ครั้งที่ 1 วันที่ 22 ตุลาคม 2553 เวลา น. – น. ณ. ห้องประชุมปทุมเทวาภิบาล โรงพยาบาลหนองคาย โครงการประชุมวิชาการเพื่อ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555” วันจันทร์ที่ 6 สิงหาคม 2555 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชื่อผลงาน การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางเดินหายใจ หอผู้ป่วย 5ง เจ้าของผลงาน ทีมนำทางคลินิก โสต ศอ นาสิกวิทยา / มรกต ลิ้มวัฒนา /ไพพร แซ่เตีย ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา /งานบริการพยาบาล โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิธีดำเนินการ (How to) กลุ่มทีมนำทางคลินิกโสต ศอ นาสิกวิทยาได้ร่วมประชุมกัน เพื่อจัดทำมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางเดินหายใจโดยมีแนวทางในการประเมินผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางเดินหายใจดังต่อไปนี้ ความสำคัญ การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางเดินหายใจที่มีประสิทธิภาพจะมีผลทำให้อัตราการรอดชีวิตและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น ทีมที่ให้การดูแลรักษาประกอบด้วย แพทย์ พยาบาลและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจะต้องมีความรู้ความสามารถ ในการประเมินอาการผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วโดยมีแนวทางในการประเมินภาวะฉุกเฉินทางเดินหายใจที่เป็นมาตรฐานเดียวกันจะทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษา ได้ทันท่วงทีและมีการเผ้าระวังสังเกตอาการอย่างต่อเนื่องเป็นระยะๆ ช่วยให้ผู้ป่วยมีโอกาสรอดชีวิตสูง ผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบาก พยาบาล เฝ้าระวังและสังเกตอย่างใกล้ชิดประเมินอาการแสดงนำของผู้ป่วยก่อนเกิดภาวะฉุกเฉินทางเดินหายใจตามสภาพความรุนแรงทุก 15 นาที จนถึง 1 ชั่วโมงตามแนวทางปฏิบัติดั้งนี้ อาการแสดงทางคลินิก 1 2 1. ระดับการรู้สติ ปกติ กระสับกระส่าย หมดสติ 2. เสียง Stridor ไม่มี Inspiratory stridor Biphasic stridor 3. Heart rate 60 – 120 min 120 – 140 / min  140 / min ,  60 / min 4. Accessory muscle ไม่มีอาการจมูกบาน หรือหน้าอกบุ๋ม จมูกบาน หรือ Suprastemal retraction 1+ Intercostals andsubcostal retraction 5. Cyanosis ไม่มี หรือ O2 sat on room air 95 – 100 % มีใน room air หรือ O2 sat on room air  95 % มีขณะได้รับ O2 หรือ O2 sat 95 % ขณะ on O2 ประเภทผลงานตามพันธกิจ การบริการวิชาการและวิชาชีพ ผลการดำเนินงาน มีมาตรฐานในการประเมินผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางเดินหายใจ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการช่วยเหลืออย่างรวดเร็วและปลอดภัยจากการเสียชีวิต ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจาการใส่ท่อช่วยหายใจ หรือเจาะคอ หมายเหตุ : ถ้า Score ≥ 5 เป็นเวลานานกว่า 30 นาที ต้องให้การรักษาแบบภาวะฉุกเฉิน ปัจจัยที่ทำให้ประสบผลสำเร็จ 1. การทำงานเป็นทีมของผู้ปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน 2. การสื่อสาร / ประสานงานระหว่างผู้ปฏิบัติงานในทีมช่วยส่งเสริมให้มีการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพมีการนำแนวทางลงไปสู่ การปฏิบัติให้ได้ผลในเวลาที่รวดเร็ว บันทึกข้อมูลตามอาการแสดงนำที่พบในแบบบันทึกการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางเดินหายใจ ข้อเสนอแนะ เนื่องจากเราไม่สามารถจะพยากรณ์ล่วงหน้าได้ว่า ภาวะฉุกเฉินทางเดินหายใจ จะเกิดขึ้นเมื่อใด ดังนั้นบุคลากรที่เกี่ยวข้องควรมีเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินที่เป็นมาตรฐานเพื่อให้การช่วยเหลือผู้ป่วยในการแก้ไขภาวะฉุกเฉินทางเดินหายใจได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รายงานแพทย์เมื่อค่า Score ≥ 5 เป็นเวลานานกว่า 30 นาที เพื่อให้การช่วยเหลือแก้ไขภาวะฉุกเฉินทางเดินหายใจ ให้การดูแลเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยก่อนที่จะใส่ท่อช่วยหายใจ หรือเจาะคอตามแผนการรักษาของแพทย์ ได้แก่ O2 Mask ,ให้พ่นยา ฯลฯ เตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ไขภาวะฉุกเฉินทางเดินหายใจให้อยู่ในที่ๆหยิบใช้ได้ง่ายและพร้อมที่จะใช้งานได้ทันที ได้แก่ รถ Emergency / อุปกรณ์ให้ Oxygen ที่ครบชุด / Endotracheal tube / Tracheostomy tube / Defibrillator พร้อมใช้ใน 4 นาที / Set เจาะคอฉุกเฉิน