Introduction to Communication การสื่อสารขั้นแนะนำ Introduction to Communication
1. ความรู้เกี่ยวกับการสื่อสาร (9 ชั่วโมง) 1.1 ความหมาย 1.2 ความสำคัญ 1.3 วัตถุประสงค์
2. องค์ประกอบ กระบวนการ และบทบาทหน้าที่ (12 ชั่วโมง) 2.1 องค์ประกอบ 2.2 กระบวนการ 2.3 บทบาทหน้าที่
3. ประเภทและระดับของการสื่อสาร (12 ชั่วโมง) 3.1 การสื่อสารระหว่างบุคคล 3.2 การสื่อสารระหว่างองค์กร 3.3 การสื่อสารมวลชน
4. ภาษาในการสื่อสาร (12 ชั่วโมง) 4.1 ภาษาที่ใช้ถ้อยคำ 4.2 ภาษาที่ไม่ใช้ถ้อยคำ
งานที่มอบหมายให้ทำ ทฤษฎีโครงสร้างและหน้าที่ของการสื่อสารมวลชน (The Structure and Function of Mass Communication Theory) แนวคิดทฤษฎีสังคมมวลชน (Mass Society Theory) แนวคิดทฤษฎีผู้กรองสาร (Gatekeeper Theory) แนวคิดทฤษฎีการใช้สื่อเพื่อประโยชน์และความพึงพอใจ (Uses and Gratification Approach)
แนวคิดทฤษฎีการเล่น (The Play Theory of Mass Communication) ทฤษฎีสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม (Communication Theory: Systems of Behavior) ทฤษฎีสื่อสารเชิงพฤติกรรมการถอดและเข้ารหัส (Communication Theory: Decoding-Encoding)
ทฤษฎีเชิงปฏิสัมพันธ์ (Communication Theory: Interaction) ทฤษฎีเชิงปริบททางสังคม (Communication Theory: Social Context) ทฤษฎีอำนาจนิยม (The Authoritarian Theory) ทฤษฎีอิสรภาพนิยมหรือเสรีนิยม (The Libertarian Theory) ทฤษฎีโซเวียตคอมมิวนิสต์ (The Soviet Communist Theory) ทฤษฎีความรับผิดชอบต่อสังคม (The Social Resposibility Theory)
แบบจำลองการสื่อสารตามแนวคิดของ C. Shannon & W. Weaver แบบจำลองการสื่อสารตามแนวคิดของ Harold D. Lasswell แบบจำลองการสื่อสารตามแนวคิดของ Charles Osgood & Wilbur Schramm แบบจำลองการสื่อสาร ABX ของธีโอดอร์ นิวคอมบ์