1.ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
กลุ่มที่ 1 สถาบันที่มี IBC
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
A wonderful of Bioluminescence
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
Experimental Research
The Nature of technology
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหาของนโยบายสาธารณะในชุมชนของท่าน
รางวัลผลงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทางDNAและมุมมองทางสังคมและจริยธรรม
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
รูปแบบการวิจัยที่ใช้ขีดความสามารถ รวมทั้งองค์กร : กรณีการวิจัยและพัฒนาเรื่องไข้หวัดนก Pooled-Capacity Research Model: A Case of R&D on Avian Influenza.
การเขียนข้อเสนอการวิจัย
การวัดผล (Measurement)
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
ถ้าเราเป็นเขา ?. Scientific purposes of animal experiment 1.To search for new knowledge 2.To diagnose disease 3.To test new therapeutic techniques and.
งานประชาสัมพันธ์ กองกลาง สำนักงานอธิการบดี. สายงานนี้คลุมถึงตำแหน่งต่าง ๆ ที่ ปฏิบัติงานทางวิชาการประชาสัมพันธ์ ซึ่งมี ลักษณะงานที่ปฏิบัติ เกี่ยวกับการศึกษา.
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
นโยบายอาญาและการป้องกันอาชญากรรม
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การวิจัยในงานประจำ.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์กายภาพทั้ง 6 ภาคของไทย และสภาวะแวดล้อมต่างๆ ศึกษาภัยธรรมชาติต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือปรากฏการณ์ในพื้นที่
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1.ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์ 2.ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงความแม่นยำของผลงาน โดยใช้สัตว์จำนวนน้อยที่สุด 3.การใช้สัตว์ป่าต้องไม่ขัดต่อกฎหมายและนโยบายการอนุรักษ์สัตว์ป่า 4.ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักว่าสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกับมนุษย์ 5.ผู้ใช้สัตว์ต้องบันทึกข้อมูลการปฏิบัติต่อสัตว์ไว้เป็นหลักฐานอย่างครบถ้วนและรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

The Council for International Organization of Medical Science (CIOMS) “International Guiding Principles for Biomedical Research Involving Animals” 1. วิวัฒนาการด้านวิทยาศาสตร์ต้องมีการพัฒนาอาจไม่ต้องใช้สัตว์ทดลอง 2. นำวิธีการต่างๆ เช่น Computer simulation, in vitro biological systemมาใช้กับงานวิจัยในทุกกรณีที่เป็นไปได้และเหมาะสม 3. นำสัตว์ทดลองมาใช้ในกรณีที่ได้รับพิจารณาถี่ถ้วนแล้วถึงประโยชน์ที่จะส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ และความก้าวหน้าทางวิชาการเท่านั้น 4. เลือกชนิดสัตว์ให้เหมาะสมทั้งทางด้านคุณสมบัติ คุณภาพ และจำนวนที่ต่ำที่สุดที่ทำให้ผลการทดลองเป็นที่ยอมรับได้ในวงการวิทยาศาสตร์

5. ผู้ใช้สัตว์ทดลองต้องปฏิบัติต่อสัตว์ในลักษณะว่าเขาเป็นสิ่งมีชีวิต 6. ผู้ใช้สัตว์ทดลองต้องยอมรับว่าวิธีการใดที่สร้างความเจ็บปวดกับมนุษย์ย่อมสร้างความเจ็บปวดให้แก่สัตว์ทุกชนิดเช่นเดียวกัน 7. ปฏิบัติการต่างๆ ที่สร้างความเจ็บปวดต้องใช้ยา บรรเทาความเจ็บปวด หรือยาสลบที่เป็นที่ยอมรับในวงการสัตวแพทย์ กรณีที่มีการผ่าตัด ต้องวางยาสลบเสมอไป 8. ควรมีผู้รับผิดชอบสามารถตัดสินใจได้ในกรณีที่มีผู้ใช้สัตว์ทดลองอ้างความจำเป็นไม่สามารถปฏิบัติตามข้อ 7 ได้ และไม่ควรปล่อยให้ผู้ใช้สัตว์ทดลองแต่ผู้เดียวตัดสินใจไม่ใช้ยาสลบ

9.เมื่อสิ้นสุดการทดลองหรือเมื่อสัตว์เกิดป่วยหรือได้รับบาดเจ็บอยู่ไม่สามารถแก้ไขได้ต้องจัดการให้สัตว์ตายอย่างสงบ (Euthanasia) 10.สัตว์ที่ใช้ในงานวิจัยต้องได้รับการเลี้ยงดูอย่างดีที่สุด ภายใต้การดูแลของสัตวแพทย์ที่มีประสบการณ์ด้านสัตว์ทดลอง 11.ผู้อำนวยการสถาบันหรือหัวหน้างานที่ใช้สัตว์ทดลองต้องรับผิดชอบให้ผู้มีคุณสมบัติที่สามารถปฏิบัติงานกับสัตว์ทดลองได้เท่านั้นเป็นผู้ปฏิบัติกับสัตว์ทดลอง สถาบันหรือหน่วยงานต้องเปิดโอกาสให้มีการอบรมบุคคลากรที่เกี่ยวข้องกับสัตว์ ให้เข้าใจถึงมนุษยธรรม และวิธีการที่ถูกต้องในการปฏิบัติการกับสัตว์ที่อยู่ในความดูแล

The 3 R Responsibility Replacement by alternatives Reduction in number Refinement of the method Responsibility

Replacement by alternatives การทดแทนสัตว์ทดลองด้วยวิธีการอื่น–คือการทดแทนการใช้สัตว์ทดลองด้วยการใช้สิ่งที่ไม่มีชีวิตหรือใช้สิ่งมีชีวิตที่มีพัฒนาการต่ำกว่าซึ่งจะมีประสาทสัมผัสต่อความเจ็บปวดและเครียดน้อยกว่า •Use of living systems •Use of Non living systems •Use of mathematical and computer simulation

Reduction การใช้สัตว์ทดลองในจำนวนที่เหมาะสม–คือการใช้สัตว์ทดลองในปริมาณที่น้อยที่สุดที่จะให้ได้ผลการทดลองในปริมาณที่ต้องการและมีความถูกต้อง การใช้สัตว์ร่วมกัน การใช้หลักการทางสถิติ การใช้สัตว์ทดลองที่มีคุณภาพ

Refinement การใช้เทคนิคและวิธีการปฏิบัติต่อสัตว์อย่างเหมาะสม–คือการปฏิบัติงานด้วยวิธีการที่จะทำให้สัตว์เกิดความเจ็บปวดและความเครียดน้อยที่สุด ในขณะเดียวกันต้องคำนึงถึงแนวทางปฏิบัติที่จะก่อให้เกิดสวัสดิภาพต่อสัตว์ •Decreased invasiveness •Improved instrumentation •Improved control of pain •Improved control of techniques •Enhance animal well being

What are humane endpoints What are humane endpoints? A humane endpoint can be defined as ‘the earliest indicator in an animal experiment of (potential) pain and/or distress that, within the context of moral justification and scientific endpoints to be met, can be used to avoid or limit pain and/or distress by taking actions such as humane killing or terminating or alleviating the pain and distress’.

Environmental enrichment

Animal quality คุณภาพสัตว์ทดลอง Genetic quality (คุณภาพพันธุกรรม) Health quality (คุณภาพสุขภาพ) Germ free Species Gnotobiotic Colony Strain Specific pathogen free Inbred Strict hygenic conventional Outbred Conventional Hybrid Mutant Transgenic

Health Quality Germ free (axenic) animal เป็นสัตว์ที่ได้มาโดยการผ่าท้อง (hysterectomy)และได้รับการเลี้ยงดูในสภาวะแวดล้อมและขบวนการที่ปลอดเชื้อภายในตู้เลี้ยงสัตว์ปลอดเชื้อ (Vinyl Isolator)อย่างต่อเนื่อง

Health Quality 2. Gnotobiotic animal เป็นสัตว์ที่ได้มาโดยการผ่าท้อง (hysterectomy) และได้รับการเลี้ยงดูเช่นเดียวกับ Germ free แต่จะได้รับเชื้อที่ไม่ทำให้เกิดโรค 1-2 ชนิด

Health Quality 3. Specific pathogen free (SPF) animal เป็นสัตว์ที่ได้มาโดยการผ่าท้อง (hysterectomy) และเลี้ยงในสถาวะที่ปลอดจากเชื้อที่จะทำให้เกิดโรคตามที่กำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง

Health Quality 4. Strict Hygienic Conventional animalสัตว์ทดลองที่ปลอดจาก pathogens ที่สำคัญ เลี้ยงในสภาวะการควบคุมความปลอดเชื้อที่ไม่เข้มงวดมาก มีการตรวจสอบคุณภาพเป็นประจำ

Health Quality 5. Conventional animal สัตว์ทดลองที่เลี้ยงอย่างไม่เข้มงวดกวดขันเกี่ยวกับการป้องกันการติดเชื้อและไม่ทราบสภาวะการติดเชื้อ

Is it a crisis? Is it acceptable?

พิธีตั้งเสาเอกศูนย์สัตว์ทดลองมหาวิทยาลัยขอนแก่น