สัมมนาวิชาการ 10 ปี คลังข้อมูล ... ก้าวไกลสู่อนาคต ย้อนอดีต...ขีดอนาคตคลังข้อมูล ธปท. Reflection of the past & a glance into the future สัมมนาวิชาการ 10 ปี คลังข้อมูล ... ก้าวไกลสู่อนาคต 18 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรม SHERATON GRANDE SUKHUMVIT
หัวข้อการนำเสนอ ความสำคัญของข้อมูลกับบทบาทธนาคารกลาง พัฒนาการของคลังข้อมูลจากวิกฤตถึงปัจจุบัน ตัววัดความสำเร็จของการจัดทำและเผยแพร่ข้อมูล การพัฒนาในอนาคต
บทบาทหน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทย รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ธปท. บริหารเงินสำรอง ระหว่างประเทศ รักษาความมั่นคงของ ระบบสถาบันการเงิน ดูแลระบบชำระเงินและ บริหารจัดการธนบัตรออกใช้ เป็นนายธนาคารของรัฐบาล และสถาบันการเงิน
คุณสมบัติที่สำคัญของข้อมูลสำหรับการดำเนินนโยบาย ความถี่ ที่เหมาะสม ทันต่อ การใช้งาน รายละเอียดครบถ้วน
ย้อนมอง...ข้อมูลก่อนวิกฤติ ผลิตภัณฑ์มวลรวม (รายปี) ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม Source : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Source : BOT Survey อัตราเงินเฟ้อ ดุลการชำระเงิน Source : สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ Source : ธนาคารแห่งประเทศไทย
ความไม่สมบูรณ์ของข้อมูลก่อนวิกฤติ คุณสมบัติที่สำคัญของข้อมูล คุณสมบัติของข้อมูลปี 2540 ทันต่อการใช้งาน ข้อมูลเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจที่สำคัญมีความล่าช้า เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจในระยะสั้นไม่สมบูรณ์ ความถี่ที่เหมาะสม ข้อมูลที่แสดง vulnerability ของประเทศไม่ครบถ้วน รายละเอียดครบถ้วน
ปรับปรุงข้อมูลหนี้ตปท. หนี้ต่างประเทศ ภาคเอกชนที่มิใช่ธนาคาร หนี้ต่างประเทศ จากการสำรวจ จากการสำรวจ Source : ธนาคารแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงข้อมูลหนี้ตปท. จำแนกตามภาคเศรษฐกิจ จำแนกตามอายุ % Source : ธนาคารแห่งประเทศไทย
ติดตาม exposure ด้านต่างประเทศ : ฐานะการลงทุนระหว่างประเทศ Source : ธนาคารแห่งประเทศไทย Net IIP by Sector สินทรัพย์ หนี้สิน
การปรับปรุงข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ ภาวะเศรษฐกิจ ข้อมูลภาวะเศรษฐกิจการเงินรายเดือนล่าช้าที่สุด 2 เดือน เงินสำรองระหว่างประเทศและฐานะเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ารายสัปดาห์ GDP รายไตรมาส (สศช.) ข้อมูลเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจที่สำคัญมีความล่าช้า Early warning indicator e.g. LEI, CEI, LII Diffusion Index e.g. BSI PCI, PII, เครื่องชี้ท่องเที่ยว เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจในระยะสั้นไม่สมบูรณ์ Balance sheet – ภาคธุรกิจและครัวเรือน เครื่องชี้อสังหาริมทรัพย์ สำรวจหนี้ต่างประเทศ IIP และสินเชื่อการค้า ข้อมูลที่แสดง vulnerability ของประเทศไม่ครบถ้วน
การใช้ข้อมูลสำหรับการคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ Data Data Assumptions on World Economy and Prices Sector Specialists Economic Theory & Data Policy Assumptions Macroeconometric Model Data Judgment NAFF Preliminary Economic Forecasts (Baseline) Data Data Assessment of Risks Small Models Data Probability Distribution of Forecasts (Fanchart) Judgment Data Data Monetary Policy Decision
บทเรียนด้านการจัดการข้อมูล Supplementary Data Source Data Harmonization รวมศูนย์การจัดการข้อมูล Data Sharing ความครบถ้วนของข้อมูลจากแหล่งเดียว ความร่วมมือในการให้ข้อมูลจากภาคเอกชน การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างองค์กร การเผยแพร่ข้อมูลแก่สาธารณชน
เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการจัดการข้อมูล การรับ-ส่งข้อมูล การประมวลผลและเผยแพร่ การจัดเก็บข้อมูล
ภาพรวมของคลังข้อมูล ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ & เอกชน ข้อมูลเศรษฐกิจ ด้าน External Sector ด้าน Financial Sector Economic Policy Formulation Financial Institutions Policy Formulation and measures ข้อมูล สถาบันการเงิน ข้อมูลธุรกิจเงินตราต่างประเทศและ ตลาดการเงิน สถาบันการเงิน
พัฒนาการของคลังข้อมูลที่ ฝ่ายบริหารข้อมูลรับผิดชอบ ข้อมูลเศรษฐกิจ ด้าน Financial Sector 1 ต.ค. 46 1 เม.ย. 47 1 ส.ค. 48 2 ก.ค. 51 1 ก.ย. 52 ข้อมูลธุรกิจเงินตราต่างประเทศและตลาดการเงิน ข้อมูล ตราสารการเงิน (Financial Market Instruments ) ข้อมูลเศรษฐกิจ ด้าน External Sector ข้อมูล สถาบันการเงิน
ข้อมูลที่เผยแพร่สำหรับสาธารณชน ข้อมูลเศรษฐกิจและการเงิน ข้อมูลสถาบันการเงิน ข้อมูลตลาดการเงิน ช่องทางการเผยแพร่ผ่าน BOT Website หัวข้อ สถิติ www.bot.or.th
ตัววัดความสำเร็จในการจัดทำและเผยแพร่ข้อมูล 19 การประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลด้านการเผยแพร่ ข้อมูล (Data ROSC) ในช่วงเดือนตุลาคม 2548 โดย IMF mission team ครอบคลุมข้อมูลดังต่อไปนี้ บัญชีรายได้ประชาชาติ (สศช.) สถิติการคลัง (สศค.) สถิติการเงิน (ธปท.) สถิติดุลการชำระเงิน (ธปท.)
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากล ด้านการเผยแพร่ข้อมูล (Data ROSC) Prerequisite of Quality พื้นฐานที่ทำให้ข้อมูลมีคุณภาพ Assurance of Integrity ความน่าเชื่อถือขององค์กรที่จัดทำและเผยแพร่ข้อมูล Methodological Soundness วิธีการจัดทำและเผยแพร่ข้อมูล Accuracy and Reliability ความถูกต้องและน่าเชื่อถือของข้อมูล Serviceability การให้บริการข้อมูล Accessibility ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล Practice Observed O การประเมิน Data ROSC จะให้คะแนน 4 ระดับ โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐานที่กำหนดโดย DQAF Practice Largely Observed LO Practice Largely Not Observed LNO Practice Not Observed NO
ผลการประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากล ด้านการเผยแพร่ข้อมูล (Data ROSC) สถิติการเงิน สถิติดุลการชำระเงิน Prerequisite of Quality Assurance of Integrity Methodological Soundness Accuracy and Reliability Serviceability Accessibility O O O O L O O O O O O O O O O O L O O L L L O O O O O L O O O L O L O O O L O O O O O O O L Practice Observed Practice Largely Observed Practice Largely Not Observed Practice Not Observed LNO NO
การปรับปรุงข้อมูลดุลการชำระเงิน หลังการประเมิน หมวด หมวดย่อย การปรับปรุง Prerequisite of Quality Legal & Institutional Environment พรบ ธปท แก้ไขครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551 มาตรา 10 Methodological Soundness Scope ศึกษาวิธีการเก็บข้อมูลที่ยังมีไม่เพียงพอ Classification/ Sectorizaion เพิ่มข้อมูล Reinvested Earnings Basis for Recording เพิ่มข้อมูล Import FOB Accuracy and Reliability Source Data เพิ่มแหล่งข้อมูลอื่นๆ เพื่อช่วยเสริมข้อมูลที่ได้จากการรายงานจากธนาคาร เช่น FMI, PIA Revision Studies นำข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาปรับปรุงข้อมูลให้ดีขึ้น เช่น ข้อมูลเงินทุนเคลื่อนย้าย Serviceability Revision Policy and Practices เผยแพร่ Revision Policy ทาง website และจะเผยแพร่ผลของ Revision Studies ต่อไป
การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานสากล การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างเศรษฐกิจและการเงิน
เครื่องชี้ภาวะการท่องเที่ยว
เครื่องชี้ภาวะการท่องเที่ยว (ปรับปรุงให้เหมาะสมกับการใช้งาน) เครื่องชี้ภาวะการท่องเที่ยว (ปรับปรุงให้เหมาะสมกับการใช้งาน)
เครื่องชี้ภาวะการท่องเที่ยว
ปรับปรุงการจัดเก็บข้อมูลให้เหมาะสมกับโครงสร้างที่เปลี่ยนไป (หนี้ต่างประเทศ) หนี้ต่างประเทศของไทย พันล้าน USD รัฐบาล + ธปท 7.39 ธนาคาร 11.63 รัฐวิสาหกิจ 9.13 เอกชน 45.53 ระยะสั้น 19.36 เงินกู้ 6.48 สินเชื่อการค้า 12.19 ระยะยาว 26.18 21.44 พันธบัตรและตั๋วเงิน 4.65 ยอดคงค้าง หนี้ต่างประเทศของไทย 73.686 พันล้าน USD สำรวจหนี้ต่างประเทศ ภาคเอกชน ข้อมูล ณ สิ้นไตรมาส 1 พ.ศ. 2553 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงการจัดเก็บข้อมูลให้เหมาะสมกับโครงสร้างที่เปลี่ยนไป (สินเชื่อการค้า) หนี้ต่างประเทศของไทย พันล้าน USD รัฐบาล + ธปท 7.39 ธนาคาร 11.63 รัฐวิสาหกิจ 9.13 เอกชน 45.53 ระยะสั้น 19.36 เงินกู้ 6.48 สินเชื่อการค้า 12.19 ระยะยาว 26.18 21.44 พันธบัตรและตั๋วเงิน 4.65 เดิม ใช้สัดส่วนคงที่ ปรับปรุง สำรวจสินเชื่อการค้า ระหว่างประเทศ ข้อมูล ณ สิ้นไตรมาส 1 พ.ศ. 2553 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย
ยอดคงค้างสินเชื่อการค้าระหว่างประเทศ สินทรัพย์ หนี้สิน
การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานสากล การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างเศรษฐกิจและการเงิน รายละเอียดเพิ่มมากขึ้น มุมมองหลากหลายขึ้น ต้องการใช้เร็วขึ้น
Data is global หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน Bank for International Settlements (BIS) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ Irving Fisher Committee on Central Bank Statistics ASEAN
www.bot.or.th