พัฒนาการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 31 ปี พ.ศ. 2518 - 2549
เศรษฐกิจไทยเติบโตอย่างแข็งแรงในรอบ 26 ปีที่ผ่านมา GDP per capita (USD) CAGR = ~6% Per capita GDP (USD) เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 6 มีเสถียรภาพภายในประเทศโดยอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยอยู่ที่ระดับร้อยละ 4.7 Source: NESDB
ตลาดทุนเป็นแหล่งระดมทุนของภาคธุรกิจทั้งในด้าน ของหุ้นทุนร วมถึงหุ้นกู้ซึ่งมีสัดส่วนเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง เงินกู้ธนาคาร หุ้นทุน พันธบัตร CAGR ของหุ้นทุน = ~20% Bil. Baht เงินกุ้ธนาคาร หุ้นทุน พันธบัตร เงินกู้ธนาคาร Source: BOT => Economic Data => Money and Banking => Table 10.1 => ใช้ยอด Total หุ้นทุน Source: SETSmart => Market Statistics => Market Cap. พันธบัตร Source: BOT => Economic Data => Money and Banking => Table 32 => ใช้ยอด Public Securities (Government bonds + treasury bill + promissory note + state enterprise bonds + monetary authority bonds + specialize organizatin) + Debentures Source: Bank Lending and Bond - BOTas of 2006 Equity (Both SET and MAI) – SETSMART as of 29 December 2006 Note: ข้อมูล Bond มีย้อนหลังถึงแค่ปี 2001
Number of new and existing listed companies ธุรกิจต่าง ๆ ให้ความสนใจระดมทุนผ่านตลาดทุนมากขี้น มีบริษัทจดทะเบียนทั้งหมด 518 บริษัท ณ สิ้นปี 2549 Newly listed companies Listed companies Year 2006: Newly listed: 18 Listed co.: 518 Number of new and existing listed companies (SET and MAI) Year 1985: Newly listed: 3 Listed co.: 93 Year 1995: Newly listed: 28 Listed co.: 416 Year 1975: Newly listed: 23 Listed co.: 21 Source : SETSmart
แนวโน้มราคาน้ำมันและอัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น ความเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีการพัฒนาไปตามสภาวะการณ์ทั้งในและนอกประเทศ ดัชนีต่ำสุดในปี 2519 ที่ระดับ 76.43 จุดเมื่อวันที่ 17 มี.ค. 2519 ดัชนีสูงสุดในปี 2537 ที่ระดับ 1,753.73 จุดเมื่อวันที่ 4 ม.ค. 2537 วิกฤตเวิลด์คอม (มิ.ย. 2545) สงครามสหรัฐฯ กับอิรัก (ก.ค. 45-เม.ย. 46) การแพร่ระบาดของโรค SARS (มี.ค. 46) การฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศ (ม.ค.-ธ.ค. 46) การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนก (ม.ค.-ก.พ. 47) ความไม่สงบใน พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ก.พ.- เม.ย. 47) การต่อต้านการ แปรรูป กฟผ. (ก.พ. - มี.ค. 47) แนวโน้มราคาน้ำมันและอัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น (พ.ค. – ก.ค. 47) คลัง-ธปท. ประกาศ ค่าเงินบาทลอยตัว (ก.ค. 2540) การปิดสถาบันการเงิน (ธ.ค. 2540) การได้รับความช่วยเหลือ จาก IMF (ส.ค. 2540) วิกฤติสถาบันการเงิน ในเอเชีย (2540) มาตรการฟื้นฟูสถาบันการเงิน (14 ส.ค. 2542) มาตรการกระตุ้นการใช้จ่าย ภาคเอกชน (ส.ค. 2542) การเลือกตั้งรัฐบาลใหม่ (ม.ค. 2544) การลดน้ำหนักการลงทุนของMSCI (พ.ค. 2544) มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ (มี.ค. 2542) การก่อวินาศกรรมในสหรัฐฯ (11 ก.ย. 2544) วิกฤติค่าเงินเปโซของ เม็กซิโก (ม.ค. 2538) ดัชนี แบริ่ง ซิเคียวริตี้ส์ในสิงคโปร์ขาดทุนจาก การค้าตราสาร อนุพันธ์ (ก.พ. 2538) เหตุการณ์จลาจลขั้นรุนแรงจากการประท้วงพฤษภาทมิฬ(พ.ค. 2535) สงคราม อ่าวเปอร์เซีย (ส.ค. 2533) การเก็งกำไรจากการ เพิ่มขึ้นของราคาอสังหาริมทรัพย์ (2532) คณะ รสช. ปฏิวัติ(ก.พ. 2534) เกิดรัฐประหาร (ก.ย. 2549) มาตรการ กันสำรอง 30% (ธ.ค. 2549) Mini Black Monday (ต.ค. 2532) วิกฤตการณ์น้ำมัน และปัญหาบริษัท ราชาเงินทุน (2522) เกิดรัฐประหาร (เม.ย. 2524) Black Monday (ต.ค. 2530) เงินตึง และอัตรา ดอกเบี้ยสูงทั่วโลก (2524) ยุบสภา (พ.ค. 2529) เกิดรัฐประหาร (ก.ย. 2528) Source : The Stock Exchange of Thailand
ด้านการออม ตลาดทุนให้อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนสูงกว่า โดยผลตอบแทนที่ได้เป็นตัวเงินจากการถือหุ้นมากกว่าที่ได้จากเงินฝากกว่า 3 เท่า Total nominal return 1975-2006 Unit: index (point) Source: SET analysis as of end-December 2006
ถ้าหักผลกระทบจากเงินเฟ้อ ตลาดทุนยังคงให้อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนสูงกว่า โดยผลตอบแทนที่ได้เป็นตัวเงินจากการถือหุ้นมากกว่าที่ได้จากเงินฝากกว่า 3 เท่า Total real return 1975-2006 Unit: index (point) อัตราผลตอบแทนสูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 129 ในปี 2532 อัตราผลตอบแทนต่ำสุดอยู่ที่ร้อยละ -55 ในปี 2540 Source: SET analysis as of end-December 2006
อัตราผลตอบแทนมากกว่า 100% โดยในระยะเวลา 31 ปี ปีที่ให้อัตราผลตอบแทนที่แท้จริงมากกว่า 35% มีจำนวน 9 ปี จำนวนปีตามอัตราผลตอบแทน อัตราผลตอบแทนมากกว่า 100% อัตราผลตอบแทน ระหว่าง 35-100% ต่ำกว่า 0% ระหว่าง 0-35% Source: SET Analysis