นายแพทย์สัมพันธ์ คมฤทธิ์ ตำแหน่ง 1.รองผู้อำนวยการโรงพยาบาล สมุทรปราการ 2. รองเลขาธิการแพทยสภา ที่อยู่ที่ติดต่อได้ 102/52 ม.8 ถนนศรีนครินทร ต.บางเมือง อ.เมือง จ.สมุทรปราการ โทรศัพท์ 089-547-6655
PATIENT SAFETY & MEDICATION ERROR
สปสช. : แพทยสภา : กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สปสช. : แพทยสภา : กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โครงการสร้างความปลอดภัย ของผู้ป่วยจากการใช้ยา : มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค : ภาคีสภาวิชาชีพด้านสาธารณสุข : พรพ. :
In the USA: Statistics In Australian hospitals: Approximately 7,000 death each year are caused by medication errors The number of deaths attributed to medication errors increased 2.57 fold from 1983 to 1993 In Australian hospitals: 1% of all admissions suffered an adverse event as the result of a medication error
IN THAILAND * OPD 168 ล้านคน * IPD 20 ล้านคน
ตัวย่อในแฟ้มผู้ป่วยพ่นพิษ ถึงกับเด็ดชีวิตคนไข้มาหลายราย สมาคมป้องกันทางการแพทย์ของสหราชอาณาจักร กล่าวเตือน ให้ระมัดระวังการใช้ตัวย่อ ในการเขียนใบสั่งแพทย์ อาจทำให้ชีวิตของผู้ป่วยตกอยู่ในความเสี่ยงได้
ดร.แซลลี โอลด์ ที่ปรึกษาด้านกฎหมายการแพทย์ของสมาคมฯ กล่าวว่า “คำย่อนั้นสามารถก่อให้เกิดความสับสนและเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อความปลอดภัยของผู้ป่วย” การสื่อสารที่ชัดเจนตรงไปตรงมาเป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะ เมื่อมีการทำงานเป็นทีมสหวิทยาการ จากการศึกษาในสหรัฐฯเกี่ยวกับความผิดพลาดทางการแพทย์ 30,000 รายพบว่า มีผู้เสียชีวิตถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ที่มีสาเหตุเชื่อมโยงกับการใช้ตัวย่อในบันทึกการรักษา.
แจ้งจับพยาบาลชุ่ย! น้ำกรดหยอด2ขวบ
สาวโรงงานแจ้งจับพยาบาลร. พ สาวโรงงานแจ้งจับพยาบาลร.พ. แห่งหนึ่ง ย่านปทุมธานีชุ่ย หยอดน้ำกรดใส่ปากลูกชายวัย 2 ขวบสาหัส เผยพาลูกไปรักษา ฝีใต้ตา หมอพาเข้าห้องผ่าตัดไม่ถึง 5 นาที ได้ยินลูก ชายร้องลั่น เรียกหาแม่กับยาย เปิดประตูห้อง ผ่าตัดเข้าไปดู ถึงกับตกใจ รอบๆ ปากลูกมี รอยไหม้ หมออ้างพยาบาลหยิบยาผิด คิดว่า ขวดน้ำกรด เป็นยาสลบเด็ก ยันถึงทางร.พ.จะ ขอโทษพร้อมรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมด แต่ เกรงลูกมีปัญหาในอนาคต จำต้องแจ้ง ความดำเนินคดี
หลักการ และ เหตุผล
MEDICATION ERROR 1. Ordering (Prescribing) 2. Transcribing 3. Dispensing 4. Administering 5. Monitoring 6. Blood Bank &Medical Lab 7. บทบาทของผู้บริโภคในการส่งเสริมความปลอดภัย จากการใช้บริการทางการแพทย์
การดำเนินการ การจัดสัมมนาในระดับย่อยและระดับใหญ่ เพื่อให้ได้มาซึ่งมาตรฐานของแต่ละสภาวิชาชีพ ในแต่ละระดับของสถานพยาบาล โดยให้ผู้ปฏิบัติมีส่วนร่วม
ดำเนินการแล้วใน 5 ภูมิภาค 5 จังหวัด การสัมมนาย่อย ผู้เข้าร่วมสัมมนาประกอบด้วยแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล เภสัชกร เทคนิคการแพทย์ และประชาชน ประมาณ 200 คน/ครั้ง ดำเนินการแล้วใน 5 ภูมิภาค 5 จังหวัด ครั้งที่ 1 จังหวัดสมุทรปราการ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2550 ครั้งที่ 2 จังหวัดเชียงราย วันที่ 6 ธันวาคม 2550 ครั้งที่ 3 จังหวัดอุบลราชธานี วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 ครั้งที่ 4 จังหวัดตรัง วันที่ 1 พฤษภาคม 2551 ครั้งที่ 5 จังหวัดจันทบุรี วันที่ 29 พฤษภาคม 2551
การสัมมนาใหญ่ นำข้อมูลที่ได้จากการระดมความคิดเห็น ในการสัมมนาย่อย นำข้อมูลที่ได้จากการระดมความคิดเห็น ในการสัมมนาย่อย มาสรุปโดยสภาวิชาชีพ นำเสนอในการสัมมนาใหญ่ วันที่ 5 กันยายน 2551 ณ ห้อง Convention Hall ชั้น 12 อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลราชวิถี กรุงเทพฯ นำไปกำหนดเป็นมาตรฐานการใช้ยาของแต่ละสภาวิชาชีพ
จบภาคแรก
นายแพทย์สัมพันธ์ คมฤทธิ์ ตำแหน่ง 1.รองผู้อำนวยการโรงพยาบาล สมุทรปราการ 2. รองเลขาธิการแพทยสภา ที่อยู่ที่ติดต่อได้ 102/52 ม.8 ถนนศรีนครินทร ต.บางเมือง อ.เมือง จ.สมุทรปราการ โทรศัพท์ 089-547-6655
ในการส่งเสริมความปลอดภัย จากการใช้บริการทางการแพทย์ บทบาทของผู้บริโภค ในการส่งเสริมความปลอดภัย จากการใช้บริการทางการแพทย์ นายแพทย์สัมพันธ์ คมฤทธิ์ เลขาธิการแพทยสภา
ประเด็นความเสี่ยง & แนวทางป้องกัน
1. โดยส่วนบุคคล / ที่พักอาศัย
1. โดยส่วนบุคคล / ที่พักอาศัย(1)
1. โดยส่วนบุคคล / ที่พักอาศัย(2)
2. การรักษาพยาบาลเคลื่อนที่ 2. การรักษาพยาบาลเคลื่อนที่ / ผู้ป่วยนอก
2. การรักษาพยาบาลเคลื่อนที่ / ผู้ป่วยนอก(1)
2. การรักษาพยาบาลเคลื่อนที่ / ผู้ป่วยนอก (2)
3. การรับยา จากเภสัชกร
3. การรับยาจากเภสัชกร
(ผู้ป่วย หรือผู้แทน/ญาติ) 4. ผู้ป่วยในโรงพยาบาล (ผู้ป่วย หรือผู้แทน/ญาติ)
4. ผู้ป่วยในโรงพยาบาล (ผู้ป่วย หรือผู้แทน/ญาติ) (1)
4. ผู้ป่วยในโรงพยาบาล (ผู้ป่วย หรือผู้แทน/ญาติ) (2)
4. ผู้ป่วยในโรงพยาบาล (ผู้ป่วย หรือผู้แทน/ญาติ) (3)
ขอขอบคุณผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่าน