สร้างโลกใบใหม่.... สร้างแรงบันดาลใจจากเรื่องเล่า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
การสังเคราะห์ประสบการณ์ กระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
( Crowdsourcing Health Information System Development )
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
สร้างพลังเครือข่าย R2R
สิ่งที่น่ารู้ในการนำองค์กรสู่ความยั่งยืน
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
การจัดการศึกษาในชุมชน
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 เมษายน 2555
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
Participation : Road to Success
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านบริหาร.
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
กรมอนามัย ในบทบาทโครงการ
๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔. วัตถุประสงค์ ๑ ) เพื่อการบริบาล และการเยียวยา (Healing) อย่างทั่วถึง อย่างทั่วถึง ๒ ) เพื่อเศรษฐกิจ - การมีสัมมาชีพ ๓ ) เพื่อพัฒนาคน.
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สร้างโลกใบใหม่.... สร้างแรงบันดาลใจจากเรื่องเล่า Imagining Future through Inspiring Stories โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

Why Stories? มนุษย์มีศักยภาพการเรียนรู้จากเรื่องเล่ามาแต่เกิด ชีวิตและสังคมมีมิติทางคุณภาพที่ลดทอนเป็นปริมาณไม่ได้ เรื่องเล่าเป็นส่วนหนึ่งของระบบการจัดการความรู้ในทุกวัฒนธรรม เรื่องเล่าสถาปนาความจริง นิยามความหมาย ตีกรอบความเป็นไปได้ให้กับวิธีคิด และปลดปล่อยจินตนาการของมนุษย์ In matters of ethics and spirit there may be nothing more practical than a good fable (Bolman & Deal 1994:4)

เรื่องเล่ากับองค์กรเรียนรู้ “ความเป็นจริง”ประกอบสร้างจากเรื่องเล่า การรู้เชิงนามธรรมกับการรู้ผ่านเรื่องเล่า การตรึกตรองสะท้อนคิดผ่านเรื่องเล่า เรื่องเล่ากับการป้อนกลับปรับระบบ เรื่องเล่าเร้าจินตนาการ สร้างแรงบันดาลใจ องค์กรขับเคลื่อนได้ด้วยเรื่องเล่า Stories of best experience reveal possible future

การแพทย์กับมิติของความเป็นมนุษย์ Imagination The Power of Storytelling การคิดผ่านกรณีตัวแบบ ในปัญหาซับซ้อน การเรียนการปลูกฝังคุณค่า และคุณธรรม การแสวงหาความหมาย เรื่องเล่ากับการเยียวยา การเรียนรู้เรื่องราวอันเป็นความละเอียดอ่อน การแพทย์กับมิติของความเป็นมนุษย์

เรื่องเล่ากับการจัดการความรู้ การเห็นศักยภาพสำคัญกว่าการรู้ปัญหา Appreciative Inquiry: สุนทรียสาธก เรื่องเล่ากับการจัดการความรู้ การเห็นศักยภาพสำคัญกว่าการรู้ปัญหา จินตนาการสำคัญกว่าความรู้ การชื่นชมความดีงามในองค์กรกับการกล่าวโทษ ข้อจำกัดที่สำคัญที่สุดขององค์กร คือการเห็นว่าองค์กรมีข้อจำกัด สุนทรียะ (สุนทร) เกี่ยวกับความดี ความงาม สาธก: ยกตัวอย่างมาอ้างให้เห็น (ป., ส. ช่วยทำ, ทำให้สำเร็จ)

โครงการพัฒนาองค์ความรู้และแนวคิดบริการสุขภาพปฐมภูมิ Appreciative Inquiry: บทเรียนจากบริการปฐมภูมิ Objectives and Method: สืบค้นศักยภาพบริการปฐมภูมิ แสวงหาอนาคตของระบบบริการปฐมภูมิ ศึกษาผ่านเรื่องราวประสบการณ์งานที่ดีที่สุด Findings: จุดแข็งที่สะท้อนศักยภาพบริการปฐมภูมิ สมรรถนะบุคลากรที่พึงประสงค์ คุณค่าของงานกับแรงจูงใจ Results & Recommendations โครงการพัฒนาองค์ความรู้และแนวคิดบริการสุขภาพปฐมภูมิ

Rationales งานที่มีคุณค่าเป็นตัวแบบการปรับกระบวนทัศน์ Best Experience as Exemplars จินตนาการอนาคตผ่านเรื่องราวที่มีคุณค่า Imagining Future through Positive Images เรื่องเล่าเร้าพลังชีวิตขององค์กร Inspiring Stories as Life-Giving Forces

Objectives เพื่อพัฒนาแนวคิดการเสริมบทบาทบริการปฐมภูมิ เพื่อสร้างต้นแบบ exemplary cases ที่สะท้อนศักยภาพสำหรับอนาคต เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้จากเรื่องเล่า

Method ร่วมงานกับบุคลากรปฐมภูมิ 40 คนใน 8 จังหวัด ดำเนินงานโดยทีมจังหวัดร่วมกับทีมสนับสนุนส่วนกลาง เสริมทักษะการวิจัยเชิงคุณภาพและการเขียนเรื่องเล่า คัดเรื่องเล่า ประสบการณ์การทำงานที่ดีที่สุดโดยทีมจังหวัด สนทนาแลกเปลี่ยนระหว่างทีมเพื่อหาหัวใจของเรื่องเล่า แลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนเรื่องเล่าด้วยการวางเค้าโครง ทดลองนำเสนอ ยกร่าง วิพากษ์ และปรับปรุง บรรณาธิการเพื่อการเผยแพร่

จุดแข็งที่สะท้อนศักยภาพบริการปฐมภูมิ Findings: จุดแข็งที่สะท้อนศักยภาพบริการปฐมภูมิ บริการปฐมภูมิไม่ใช่แค่บริการเบื้องต้น สามารถดูแลแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน หลายมิติ ทำงานหลายระดับ ปัจเจก ครอบครัว ชุมชน ความสัมพันธ์ที่ดีและการยอมรับจากชุมชน เป็นงานที่มีลักษณะเฉพาะเหมาะกับพื้นที่ เสริมระบบสุขภาพชุมชนให้เข้มแข็งพึ่งตนเองได้ จุดแข็งไม่ใช่การรักษาเบื้องต้นหรือการคัดกรองเพื่อส่งต่อ

สุนทรียสาธก : การเรียนรู้ผ่านเรื่องเล่า Findings: สุนทรียสาธก : การเรียนรู้ผ่านเรื่องเล่า อุปสรรคกลายเป็นความท้าทาย เปิดพื้นที่ให้กับมิติทางอารมณ์ นิยามความหมายใหม่ให้กับงาน เรียนรู้มิติของความเป็นมนุษย์ ชื่นชมและเห็นคุณค่าของงาน สร้างวิสัยทัศน์ร่วมที่มีความหมาย By focusing on the deficit, we create more images of deficit and potentially overwhelm the system with images of what is “wrong”

หัวใจความสำเร็จ การทำงานสุขภาพชุมชน สามารถชื่นชม/มีทัศนะเชิงบวก Appreciative Skill Healthy Working Relationship Interactive Learning through Action สามารถชื่นชม/มีทัศนะเชิงบวก มีความสัมพันธ์กับชุมชนที่ดี มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติ

Results: เรื่องเล่าเร้าพลังใจ 80 เรื่อง สร้างนักเขียนเรื่องเล่า 40 คน พัฒนาวิธีการ เครื่องมือ และเทคนิคการทำงานกับเรื่องเล่า เข้าใจศักยภาพและจุดเด่นของบริการปฐมภูมิ เข้าใจคุณค่างานที่เสริมและ เติมเต็มค่าตอบแทนการเงิน

Non-financial Incentives Self esteem: Self fulfillment Social recognition: Community & Institution Fairness: Material & non-material

สู่จินตนาการสุขภาพใหม่ที่มีหัวใจของความเป็นมนุษย์ Recommendations อนาคตของบริการปฐมภูมิอยู่ที่การสร้างระบบบริบาลที่เข้าใจในมิติทางวัฒนธรรมและละเอียดอ่อนต่อความเป็นมนุษย์ เรื่องเล่าประสบการณ์ที่ดีและสุนทรียสาธกสร้างคุณค่าและความภาคภูมิใจในงาน เรื่องเล่าเป็นเครื่องมือที่ดีในการถ่ายทอดมิติคุณภาพ ส่งเสริมการประเมินผลงานผ่านเรื่องเล่า สู่จินตนาการสุขภาพใหม่ที่มีหัวใจของความเป็นมนุษย์