การทำกราวด์(Grounding)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
Advertisements

พายุฝนฟ้าคะนอง(Thunder storm)
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
งานลากสายไฟ ทำความรู้จักสายไฟแต่ละชนิด
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
PINKLAO MOBILE EXCERCISE 2010
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย1
8. ไฟฟ้า.
โครงการพัฒนาคุณภาพ ปี 2554
อันตรายจากไฟฟ้า Readings Effects Safe Current Values 1 mA or less
ช่างสถานีไฟฟ้าย่อย หน่วยไฟฟ้า งานซ่อมบำรุง
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
Engineering Graphics II [WEEK4]
การเขียนรายงานการทดลอง
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
โดย สมาคมการช่วยชีวิตและดับเพลิง FARA
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
การซ่อมทำหม้อแปลงไฟฟ้า ของ อาคาร สรส.ยศ.ทร.
ระบบป้องกันฟ้าผ่า เกาะช้าง จว.ระนอง
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
โครงการจัดทำนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี
(Applications of Derivatives)
เครื่องมืออุปกรณ์งานเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
วิชา ระบบส่งกำลังรถยนต์ เรื่อง การตรวจซ่อมเพลากลางรถยนต์
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
เครื่องปิ้งขนมปัง.
อุตสาหกรรมฟอกหนัง ผลิตภัณฑ์จากหนัง งานตกแต่ง สี ขัด อัดหนัง
อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
-เครื่องมือสำหรับการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ - ไฟรว์วอลล์
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
พนธกร หาดี (ptk.toomyai.ac.th) 1 ง หน่วยการเรียนรู้ที่ 5.
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
ความปลอดภัยในการทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
โครงการประหยัดพลังงานไฟฟ้าแสงสว่างภายในห้องน้ำอาคารบริหาร คณะศิลปศาสตร์ โดย นายวุฒิชัย บุญแท้
“การผลิตถังบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน”
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
NETWORK.
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เลือกใช้เครื่องมือตัดได้ถูกต้อง
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ว่าด้วย วิธีการในการติดตั้งเครื่องกําเนิดรังสี พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 26 มีนาคม 2555.
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
อุบัติเหตุจากการทำงาน
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานเรื่อง มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาอาชีพช่างอุตสาหการสาขาช่างเชื่อมฟลักซ์คอร์ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 21.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง การกำหนดบริเวณอันตราย ในการติดตั้งระบบไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า และบริภัณฑ์ของสถานที่ใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทำกราวด์(Grounding) วัตถุประสงค์ ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้ารั่วซึ่งเป็นอันตรายกับคน และก่อให้เกิดความเสียหายต่ออุปกรณ์เครื่องจักร

เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.แท่งกราวด์(Ground rod) ขนาด 5/8” ยาว 3 เมตร จำนวนขึ้นอยู่กับค่าที่ต้องการกี่โอห์ม

2.ฆ้อน สำหรับตอกแท่งกราวด์

3.สายกราวด์ขนาด 95 ตารางมิลลิเมตร

4.ผงเชื่อม(Weld powders)และแผ่นเหล็ก ผงเชื่อม:แยกออกเป็นเบอร์ๆแต่ละเบอร์ใช้กับงานที่ต่างกันไป แผ่นเหล็ก:ใช้รองรับผงเชื่อมในตัวโมลด์

5.โมลด์(Moulds) คือเบ้าที่ใช้ในงานเชื่อมมีหลายแบบขึ้นอยู่กับรูปแบบการเชื่อมต่อ

ใช้ในการจุดเชื้อปะทุ 6.ปืนจุด(Flint Gun) ใช้ในการจุดเชื้อปะทุ

ขั้นตอนการทำกราวด์ 1.ตอกแท่งกราวด์เป็นDelta Loop แต่ละหลักควร ห่างกันเท่ากับความยาวของแท่งกราวด์หรือ >2เมตร (ถ้าพื้นที่มีจำกัดตอกเป็น Line(เส้นตรง)ก็ได้)

2.ติดตั้งตัวโมลด์และสายกราวด์กับแท่งกราวด์ เข้าด้วยกันและใช้ดินเหนียวหรือดินน้ำมันอุด ตามขอบหรือรอยต่อให้สนิทเพื่อป้องกันผงเชื่อม ไหลออก

3.ใส่แผ่นเหล็กลงไปในโมลด์เพื่อรองรับผงเชื่อม 4.ใส่ผงเชื่อมเข้าไปในตัวโมลด์ 5.ยิงด้วยปืนจุด ผงเชื่อมจะเกิดการลุกไหม้, หลอมละลายในตัวโมลด์และมีประกายไฟขึ้นมา

6.เปิดโมลด์ออกมาจะเห็นผลการเชื่อม และทำการวัดค่าด้วย Earth Resistivity Tester ค่าทีได้จะต้องไม่เกิน 5 โอห์มIndividual loop ส่วนOverall loop ต้องไม่เกิน 2 โอห์ม แต่ถ้าค่า Individual loopยังสูงกว่า 5 โอห์มต้องตอกแท่งกราวด์เพิ่ม

วิธีวัดค่าGround

7.พันด้วยเทปเพื่อป้องกันCorrosion

การต่อไปใช้งาน

กราวด์ของInstrument กับกราวด์ของไฟฟ้าควรตอกห่างกันเท่าไร? ตามข้อกำหนด(NEC)กราวด์ทุกจุดในระบบงานต้องเชื่อมต่อถึงกันหมดไม่ควรตอกกราวด์แยก เหตุผลคือ 1.เพื่อความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานและอุปกรณ์ไฟฟ้า-อิเลคทรอนิคส์ 2.เพื่อไม่ให้เกิดความต่างศักย์ขึ้นในระบบกราวด์      ถึงแม้ว่างาน Instrument ทำการแยกกราวด์เพื่อประสิทธิภาพของงานวัดและการประมวลผลดีขึ้น แต่ก็เป็นการฝ่าฝืนข้อกำหนด เพราะว่าการแยกกราวด์ออกจากกันจะก่อให้เกิดความต่างศักดิ์ไฟฟ้าขึ้นที่ระบบกราวด์ และนำไปสู่การเกิดกราวด์ลูบ สร้างความเสียหายต่อระบบงานในวงกว้างได้ สาเหตุที่ก่อให้เกิดความต่างศักดิ์ได้แก่ ฟ้าผ่า,กระแสไฟกระโชก,และการเกิดกราวด์Fault ในระบบงาน (ข้อมูลจาก หนังสือ การกราวนด์ในระบบไฟฟ้าและ   สื่อสาร ของ วัฒนา  สุนทรานุรักษ์ )

ค่าความต้านทานของระบบ ground Earthing กับ Grounding  ความหมายเดียวกันคือ การต่อลงดิน Earth เป็นคำที่ใช้ในมาตรฐาน IEC ,    Ground เป็นคำที่ใช้ในมาตรฐาน ANSI

Q&A