เรื่องความรู้ทางภาษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements

สรุปภาพรวมการเรียนรู้
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
คำราชาศัพท์ จัดทำโดย นางสาวสมพร อ่อนละออ.
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คำคล้องจอง หนู ปู ดูรูงู ปูนา ขาเก
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
ตัวเลขไทย.
คำวิเศษณ์.
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพครู.
กระบวนวิชา TL 214 การพัฒนาทักษะภาษาไทยรายกรณี
สอนเสริมภาษาไทย เรื่องการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาความคิด
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
นักเรียนช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6)
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา
๓. พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่ กด
๒.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กก”
๔.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กน”
คือพยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
เรื่อง คำที่ใช้ รร ( ร หัน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนชุมชนศิลาเพชร สพท.น่าน เขต ๒
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
การใช้ภาษา เพื่อการสื่อสาร
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
การเขียน.
การเขียนรายงาน.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
ประเภทของวรรณกรรม.
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
การฟังเพลง.
วรรณกรรมในสมัยอยุธยามีอยู่มากตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จนตลอดระยะเวลาของ กรุงศรีอยุธยาวรรณกรรมที่ดีเด่นจนได้รับการยกย่องเป็นวรรณคดีมีอยู่หลายเรื่อง.
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97 (บ้านบางบอน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
ด.ช.ธิติวุฒิ ปั้นจาด ชั้น ป. ๕/๘ เลขที่ ๔๖
แผนการจัดการเรียนรู้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนบ้านขจัดภัย เข้าสู่บทเรียน.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สื่อประกอบการสอน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ ภาษาเพื่อการสื่อสาร
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
หน่วยที่ ๓ การนำเสนอข้อมูล
WHO ARE WHO การขาย2 คุณลักษณะ.
หน่วยที่ ๖ การเขียนประชาสัมพันธ์
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
คำถามที่ให้ช่วยกันหาคำตอบ
การเขียนโครงการ.
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชี สุดท้ายสหกรณ์ ต้องไม่กระทำการอัน เป็นการฝ่าฝืนกฏหมาย ระเบียบ คำสั่ง ปัญหา / สาเหตุ การ ป้องกั น แนว ทางแก้ ไข มาตรฐาน.
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่องความรู้ทางภาษา ความหมายของภาษาลักษณะสำคัญของภาษาไทย คำว่า “ภาษา” หมายถึง ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียน เพื่อสื่อความของชนกลุ่มใด กลุ่มหนึ่ง ประเภทของภาษา มี ๒ ประเภท ๑. วัจนภาษา คือ ภาษาที่ใช้ถ้อยคำในการสื่อสาร ๒. อวัจนภาษา คือ ภาษาที่ไม่ใช้ถ้อยคำในการสื่อสาร

องค์ประกอบของภาษา ภาษามีองค์ประกอบ ๔ เรื่อง ๑. เสียง เกิดจากการเปล่งเสียงแทนพยางค์ และคำ ๒. พยางค์และคำ เกิดจากการประสมพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ๓. ประโยค เกิดจากการนำ คำ มาเรียงกันตามลักษณะโครงสร้าง ของภาษาที่กำหนดเป็นกฎเกณฑ์หรือเป็นระบบไวยากรณ์ของแต่ละภาษา ๔. ความหมาย คือ ความหมายที่เกิดจากคำหรือประโยคเพื่อใช้ใน การสื่อสารทำความเข้าใจกัน

ลักษณะสำคัญของภาษาไทย ๑. ภาษาไทยเป็นคำโดด ๒. คำไทยแท้ส่วนมากมีพยางค์เดียว ๓. คำไทยแท้มีตัวสะกดตรงตามมาตรา ๔. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ ๕. มีการสร้างคำเพื่อเพิ่มความหมายให้มากขึ้น ๖. การเรียงคำในประโยค ๗. คำขยายในภาษาไทยจะเรียงอยู่หลังคำที่ถูกขยายเสมอ ๘. คำไทยมีคำลักษณะนาม ๙. ภาษาไทยมีวรรคตอนในการเขียนและการพูด ๑๐. ภาษาไทยมีระดับการใช้

ใบงานที่ ๑ เรื่อง ประโยชน์ของภาษา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง ความรู้ทางภาษา คำชี้แจง พิจารณาสถานการณ์ที่กำหนดให้ แล้วตอบว่าใช้ประโยชน์ของภาษาในด้านใด ๑. กำหนดกฎ กติกา และข้อตกลงในการอยู่ร่วมกัน....................................................................................... ๒. อ่านนิทานหรือนิยายเพื่อผ่อนคลายความตึงเครียด .................................................................................. ๓. อภิปรายแสดงความคิดเห็น และร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหา ........................................................... ๔. สันนิษฐานผลงานที่ไม่ได้ระบุผู้แต่งที่ชัดเจน.................................................................................................. ๕. พูดภาษาถิ่นกับญาติพี่น้อง.......................................................................................................................... ๖. ทำตารางทบทวนหนังสือก่อนสอบ.............................................................................................................. ๗. เล่นการละเล่นที่มีบทร้อง............................................................................................................................. ๘. ฟังธรรมบรรยายจากพระอาจารย์ในชั่วโมงเรียนวิชาพระพุทธศาสนา.............................................................. ๙. ทักทายปราศรัย และพูดแสดงความชื่นชมในการกระทำดีของเพื่อน................................................................. ๑๐. อ่านแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ประจำเดือนของโรงเรียน...................................................

คำชี้แจง อ่านข้อความที่กำหนดให้ แล้วตอบว่าใช้โวหารแบบใด ใบงานที่ ๒ เรื่อง ความงามกับภาษา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง ความรู้ทางภาษา คำชี้แจง อ่านข้อความที่กำหนดให้ แล้วตอบว่าใช้โวหารแบบใด ๑. กลืนไม่เข้าคายไม่ออก เป็นโวหาร................................................................................ ๒. เรื่องเล็กน้อยจะกลายเป็นน้ำผึ้งหยดเดียว เป็นโวหาร................................................................................... ๓. งามผิวประไพผ่อง กลทาบศุภาสุพรรณ งามแก้มแฉล้มฉัน พระอรุณแอร่มละลาน งามเกศะดำขำ กลน้ำณท้องละหาน งามเนตรพินิศปาน สุมณีมะโนหะรา (มัทนะพาธา ของ รัชกาลที่ ๖) เป็นโวหาร.......................................................................... ๔. เหตุแสดงแห่งราชพ้อง ภัยชลา ได้แก่อุปราชา เชษฐ์ผู้ สงครามซึ่งเสด็จครา นี้ใหญ่ หลวงแฮ แท้จักถึงยุทธ์สู้ ศึกช้างสองชน (ลิลิตตะเลงพ่าย ของ สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส) เป็นโวหาร............................................................................

๕. เขามองเราเป็นเพียงดอกไม้ริมทาง เป็นโวหาร............................................................................ ๖. โอ๊ย ! ปวดหัวจนหัวจะระเบิดอยู่แล้ว เป็นโวหาร ............................................................................ ๗. สัตภัณฑ์บรรพตทั้งหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย ประนอมประนมชมชัย (บทพากย์โขนเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน ช้างเอราวัณ) เป็นโวหาร........................................................................... ๘. เมื่อเข้ามาอยู่ในสถานที่อันกว้างใหญ่ไพศาลแห่งนี้ เรารู้สึกว่าตัวเราเป็นเพียงเศษผงธุลีที่ไม่มีใครสนใจ เป็นโวหาร....................................................................... ๙.ฉลามหนุ่มแห่งประเทศไทยคว้าแชมป์เหรียญทองโอลิมปิกได้สำเร็จ เป็นโวหาร......................................................................