ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสนับสนุนทางวิชาการ ต่อการดำเนินงานของ โรงพยาบาลชุมชน
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
สายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
ความหมายและกระบวนการ
สวัสดีครับ.
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
A man’s dreams are an index to his greatness การสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี มีโภชนาการสมวัย.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ตำบล........................อำเภอ..................

ระดับประชาชน/กลุ่มเป้าหมาย (มุมมองเชิงคุณค่า) ผังจุดหมายปลายทางการขับเคลื่อน “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว” ภายในปี พ.ศ.2555 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2553 ระดับประชาชน/กลุ่มเป้าหมาย (มุมมองเชิงคุณค่า) ●ชุมชน/ท้องถิ่นมีแม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ●ชุมชน/ท้องถิ่นมีการดำเนินงาน “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว”ต้นแบบตามเกณฑ์ที่กำหนด(มีแผนชุมชน/มีข้อมูลระบบเฝ้าระวัง/มีกติกาทางสังคม/กรรมการกองทุน/มีอัตราเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มเป็นร้อยละ 60) ●ชุมชน/ท้องถิ่นมีปราชญ์นมแม่เพื่อสายใยรักฯ ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) ●อปท.สนับสนุนและร่วมดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ●หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน สนับสนุนการดำเนินงานตามบทบาท แบบบูรณาการ ●องค์กรชุมชน/ผู้นำชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) ●มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการวางแผนงาน/โครงการดำเนินงาน“ตำบลนมแม่” พร้อมกำกับอย่างมีประสิทธิภาพ ●มีการประชาสัมพันธ์และรณรงค์หลายรูปแบบอย่างต่อเนื่อง ●มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง ●มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลตามเกณฑ์ตำบลนมแม่ ระดับพื้นฐานองค์กร/ชุมชน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) ●มีระบบข้อมูลอนามัยแม่และเด็กที่ถูกต้อง ครบถ้วนเป็นปัจจุบันและสามารถเข้าถึงได้ง่าย ●มีความรู้และทักษะที่เหมาะสมในดำเนินงานตำบลนมแม่ฯ ●มีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและความเชื่อให้ถูกต้องต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ●มีการทำงานเป็นทีมแบบสหวิชาชีพ 2

ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) การขับเคลื่อน “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว” ภายในปี พ.ศ. 2555 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2553 มีความเข้มแข็งและต่อเนื่องในการดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวสู่ความยั่งยืน ชุมชน/ท้องถิ่นพัฒนา“ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว”ต้นแบบตามเกณฑ์ที่กำหนด ประชาชน ชุมชน/ท้องถิ่น มีแม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ชุมชน/ท้องถิ่นมีปราชญ์นมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน สนับสนุนการดำเนินงานตามบทบาทแบบบูรณาการ องค์กรชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ภาคี อปท.สนับสนุนและร่วมดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ประชาสัมพันธ์และรณรงค์อย่างต่อเนื่อง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มและเครือข่าย กำกับ ติดตาม ประเมินผลตามเกณฑ์ตำบลนมแม่ กระบวนการ มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ จัดระบบข้อมูลอนามัยแม่และเด็กที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ปรับเปลี่ยนทัศนคติ ความเชื่อในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พื้นฐาน สร้างความรู้และทักษะบุคลากรทุกระดับ สร้างทีมดำเนินงาน “ตำบลนมแม่ฯ” 3