ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ตำบล........................อำเภอ..................
ระดับประชาชน/กลุ่มเป้าหมาย (มุมมองเชิงคุณค่า) ผังจุดหมายปลายทางการขับเคลื่อน “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว” ภายในปี พ.ศ.2555 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2553 ระดับประชาชน/กลุ่มเป้าหมาย (มุมมองเชิงคุณค่า) ●ชุมชน/ท้องถิ่นมีแม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ●ชุมชน/ท้องถิ่นมีการดำเนินงาน “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว”ต้นแบบตามเกณฑ์ที่กำหนด(มีแผนชุมชน/มีข้อมูลระบบเฝ้าระวัง/มีกติกาทางสังคม/กรรมการกองทุน/มีอัตราเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มเป็นร้อยละ 60) ●ชุมชน/ท้องถิ่นมีปราชญ์นมแม่เพื่อสายใยรักฯ ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) ●อปท.สนับสนุนและร่วมดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ●หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน สนับสนุนการดำเนินงานตามบทบาท แบบบูรณาการ ●องค์กรชุมชน/ผู้นำชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) ●มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการวางแผนงาน/โครงการดำเนินงาน“ตำบลนมแม่” พร้อมกำกับอย่างมีประสิทธิภาพ ●มีการประชาสัมพันธ์และรณรงค์หลายรูปแบบอย่างต่อเนื่อง ●มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง ●มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลตามเกณฑ์ตำบลนมแม่ ระดับพื้นฐานองค์กร/ชุมชน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) ●มีระบบข้อมูลอนามัยแม่และเด็กที่ถูกต้อง ครบถ้วนเป็นปัจจุบันและสามารถเข้าถึงได้ง่าย ●มีความรู้และทักษะที่เหมาะสมในดำเนินงานตำบลนมแม่ฯ ●มีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและความเชื่อให้ถูกต้องต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ●มีการทำงานเป็นทีมแบบสหวิชาชีพ 2
ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) การขับเคลื่อน “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว” ภายในปี พ.ศ. 2555 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2553 มีความเข้มแข็งและต่อเนื่องในการดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวสู่ความยั่งยืน ชุมชน/ท้องถิ่นพัฒนา“ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว”ต้นแบบตามเกณฑ์ที่กำหนด ประชาชน ชุมชน/ท้องถิ่น มีแม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ชุมชน/ท้องถิ่นมีปราชญ์นมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน สนับสนุนการดำเนินงานตามบทบาทแบบบูรณาการ องค์กรชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ภาคี อปท.สนับสนุนและร่วมดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ประชาสัมพันธ์และรณรงค์อย่างต่อเนื่อง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มและเครือข่าย กำกับ ติดตาม ประเมินผลตามเกณฑ์ตำบลนมแม่ กระบวนการ มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ จัดระบบข้อมูลอนามัยแม่และเด็กที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ปรับเปลี่ยนทัศนคติ ความเชื่อในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พื้นฐาน สร้างความรู้และทักษะบุคลากรทุกระดับ สร้างทีมดำเนินงาน “ตำบลนมแม่ฯ” 3