สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
2.5 Field of a sheet of charge
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
พื้นที่ผิวและปริมาตร
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
Hashing Function มีหลายฟังก์ชั่น การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูล ตัวอย่างของฟังก์ชั่นแฮชมีดังนี้ 1. Mod คือการนำค่าคีย์มา mod ด้วยค่า n ใด.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
อสมการ.
ระบบตัวเลขฐานสิบสอง สัญลักษณ์หรือเลขโดดที่ใช้ในระบบตัวเลขฐานสิบสอง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
กศน. สบเมย.. คณิตศาสตร์สุดหรรษา การบวก ลบ คูณ หารระคน.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ตัวประกอบ. ตัวประกอบ ความหมาย ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว.
เศษส่วน.
คุณสมบัติการหารลงตัว
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
รวมสูตรเกี่ยวกับพื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
กิจกรรมที่ 7 การวางแผนการแก้ปัญหา (1)
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
ด.ญ. ยุพิน จันทร์หอม ด.ญ. นริศรา โภคา
ชุดฝึกแทนค่าตัวแปรในนิพจน์พีชคณิต
ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การสร้างแบบเสื้อและแขน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พีระมิด.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดย ครูกาญจนา กิ่งก้าน โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ.พะเยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36

แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้น แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้น ครั้งละเท่า ๆ กัน ทำได้ 2 วิธี คือ การบวกและการคูณ 1. วิธีบวก แบบรูปในลักษณะนี้มักจะกำหนดจำนวนแรกให้จากนั้นจึงกำหนด เงื่อนไขในการเพิ่มขึ้นครั้งละเท่าๆ กัน โดยใช้วิธีการบวก 2. วิธีคูณ ใช้วิธีการเช่นเดียวกับวิธีบวก เพียงแต่มีเงื่อนไขการเพิ่มเป็นผลมาจากการคุณจำนวนที่เพิ่มขึ้นครั้งละเท่า ๆ กัน

แบบรูปของจำนวนที่ลดลง แบบรูปของจำนวนที่ลดลงครั้งละเท่าๆ กัน ทำได้2 วิธี คือ การลบและการหาร วิธีลบ แบบรูปที่ใช้วิธีนี้ต้องกำหนดเงื่อนไข การลดว่าลดครั้งละเท่าไร โดยลดครั้งละเท่ากัน แบบรูปที่ใช้วิธีนี้ตองกำหนดเงื่อนไขการนับลด โดยเป็นผลมาจากการหาร ครั้งละเท่าๆ กัน

วิเคราะห์แบบรูปจากตัวเลข จากการกำหนดแบบรูปของจำนวน ให้เติมจำนวนอีก2จำนวนลงในช่องว่าง 1 , 5 , 9 , 13 , ... , ... 3 , 9 , 15 , 21 , ... , ... 2 , 0 , -2 , -4 , ..., ... -5 , -3 , -1 , 1 , ..., ... 176 , 88 , 44 , ..., ...

สมบัติการเท่ากัน สมบัติการสมมาตร ถ้า a = ๖ แล้ว ๖ = a เมื่อ a และ b แทนจำนวนใด ๆ สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = b และ๖ = C แล้ว a = C เมื่อ a ,๖ และ C แทนจำนวนใดๆ เช่น ถ้า X = y และ y = 3 แล้ว X = 3 แล้ว a + b = X และ X =7 แล้ว a + b = 7 ถ้า 20= 2ท + 5 และ 2n + 5= 10y แล้ว 20 = 10y สมบัติการบวก ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c เมื่อ a,b และ C แทนจำนวนใด ๆ

การแก้โจทย์ปัญหาของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1. วิเคราะห์โจทย์เพื่อหาว่า โจทย์กำหนดอะไรมาให้ แล้วให้หาอะไร 2. กำหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทย์ให้หา 3. เขียนสมการตามเงื่อนไขในโจทย์ 4. แก้สมการเพื่อหาคำตอบที่โจทย์ต้องการ 5. ตรวจสอบคำตอบที่ได้กับเงื่อนไขในโจทย์

การเขียนสมการ จำนวนจำนวนหนึ่งรวมกับ 27 ได้ผลลัพธ์เป็น 35 ข้อความ/ประโยค สัญลักษณ์ จำนวนจำนวนหนึ่งรวมกับ 27 ได้ผลลัพธ์เป็น 35 1. จำนวนจำนวนหนึ่ง 2. จำนวนจำนวนหนึ่งรวมกับ 27 3. จำนวนจำนวนหนึ่งรวมกับ 27 ได้ผลลัพธ์เป็น 35 X X + 27 X +27 = 35

สามเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งรวมกับ 5 ได้ผลลัพธ์เป็น 75 ข้อความ/ประโยค สัญลักษณ์ สามเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งรวมกับ 5 ได้ผลลัพธ์เป็น 75 1. จำนวนจำนวนหนึ่ง 2. สามเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่ง 3. สามเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งรวมกับ 5 4. สามเท่าของจำนวนจำนวนหนึ่งรวมกับ 5 ได้ผลลัพธ์เป็น 75 X 3x 3x + 5 3x + 5 = 75

ผลบวกขนาดของมุม 2 มุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเท่ากับ 48 องศา และผลต่างขนาดของมุมทั้งสองนี้เท่ากับ 22 องศา มุมที่ใหญ่กว่ามีขนาดเท่าไร วิธีทำ ให้มุมที่มีขนาดใหญ่กว่าเท่ากับ x องศา  มุมที่มีขนาดเล็กกว่าเท่ากับ 48  x องศา จะได้สมการ x  (48  x)  22 2x  70 x  35 มุมที่ใหญ่กว่ามีขนาด 35 องศา

 ด้านยาวยาว 9 เซนติเมตร ด้านกว้างยาว (9)  3  7.5 เซนติเมตร รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีความยาวของเส้นรอบรูปเท่ากับ 33 เซนติเมตร ถ้าความกว้างยาวกว่าครึ่งหนึ่งของความยาวอยู่ 3 เซนติเมตร รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปนี้จะมีพื้นที่กี่ตารางเซนติเมตร จะได้สมการ 3x  6  33 x  9  ด้านยาวยาว 9 เซนติเมตร ด้านกว้างยาว (9)  3  7.5 เซนติเมตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า  กว้าง  ยาว  7.5  9  67.5 ตารางเซนติเมตร

ปัจจุบัน ก มีอายุเป็นหกเท่าของ ข แต่ในเวลาอีก 15 ปีข้างหน้า ก มีอายุเป็นสามเท่าของอายุ ข อยากทราบว่า ข อายุเท่าไรในปัจจุบัน ปัจจุบันให้อายุของ ข  x อีก 15 ปีข้างหน้า ข อายุ  x  15 ปัจจุบัน ก มีอายุเป็นหกเท่าของ ข  6x อีก 15 ปีข้างหน้า ก อายุ  6x  15 อีก 15 ปี ก มีอายุเป็นสามเท่าของอายุ ข สมการ 6x  15  3(x  15) 6x  15  3x  45 6x  3x  45  15 3x  3 x  10  ปัจจุบัน ข อายุ 10 ปี