บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน(บบส บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน(บบส.) Asset Management Corporation (AMC) เป็นองค์กรเฉพาะกิจ จัดตั้งขึ้นโดยพระราช กำหนด บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบัน การเงิน พ.ศ. 2540 เป็นมาตรการหนึ่งในการแก้ไขปัญหา สถาบันการเงินและฟื้นฟูสถานการณ์
ทุนจดทะเบียน 10,000 ล้านบาท กระทรวง การคลังถือหุ้นแต่ผู้เดียว - ทำหน้าที่ประมูลซื้อสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของสถาบันการเงินที่ไม่สามารถฟื้นฟูฐานะได้ เพื่อนำมาบริหารและขายต่อ
สถาบันการเงิน ที่มีปัญหา ชำระบัญชี ป.ร.ส. ประมูลซื้อ AMC ขายต่อ
วัตถุประสงค์และหน้าที่หลักของ บบส วัตถุประสงค์และหน้าที่หลักของ บบส. คือ เป็นองค์กรที่รับซื้อและรับโอนสินทรัพย์ที่ด้อยคุณภาพจาก 1. 56 สถาบันการเงินที่ถูกปิดกิจการ 2. สถาบันการเงินที่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและ พัฒนาระบบสถาบันการเงินได้เข้าถือหุ้น และ มีอำนาจบริหารจัดการ 3.องค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ (อบส.)
บบส. จะนำเอาสินทรัพย์ดังกล่าวไปบริหารให้มีสภาพและมูลค่าสูงขึ้น และจำหน่ายจ่ายโอนต่อไป
การดำเนินงานของ บบส. จะเน้นการบริหาร งานที่เป็นสากล มีอิสรภาพ มีประสิทธิภาพ และเป็นมืออาชีพ ตามนโยบายดังนี้ หลีกเลี่ยงการขาดทุนจากการดำเนินงาน ในขณะเดียวกัน พยายาม ทำกำไร ส่งคืนให้รัฐ เพื่อชดเชยความเสียหายจากปัญหาสถาบันการเงิน
ช่วยลูกหนี้คนไทยผู้สุจริต ให้ได้รับความเป็นธรรม และอยู่รอด ผ่านวิกฤต เศรษฐกิจ และการเงิน อันจะส่งผลให้ ระบบเศรษฐกิจ และการเงิน โดยรวม ของประเทศฟื้นตัว ดำเนินงานด้วยความสุจริต และโปร่งใส
1 3 2 การดำเนินงานของ บบส บริหารและ การจำหน่าย ซื้อสินทรัพย์ จัดการสินทรัพย์ -การโอนหนี้ -การแปลงสภาพหนี้ -การปรับลดหนี้ -การแปลงหนี้เป็นทุน การจำหน่าย สินทรัพย์ -การขาย -การประมูล -การร่วมลงทุน ซื้อสินทรัพย์ - การประมูล
ซื้อและรับโอนสินทรัพย์ บบส. จะไม่เข้าประมูลแข่งขันในรอบแรก แต่จะเข้าประมูลสินทรัพย์ที่เหลือจาก ปรส. 2. บริหารจัดการสินทรัพย์ ดำเนินการปรับโครงสร้างหนี้ให้สอดคล้องกับประเภทธุรกิจของลูกหนี้ เพื่อให้ลูกหนี้สามารถชำระหนี้ได้
3. จำหน่ายสินทรัพย์ บบส. มีนโยบายขายคืนให้แก่เจ้าของเดิมเป็นอันดับแรก