Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 3 6 9 12 15 18.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
แบบรูปและความสัมพันธ์
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
LAB # 2.
Computer Programming 1 6. โปรแกรมต่อไปนี้เป็นโปรแกรมสำหรับรับค่า N และรับจำนวนเต็มที่มีค่าระหว่าง 0 ถึง 9 จำนวน N ตัว นับจำนวนเต็มแต่ละค่าที่ป้อนแล้วแสดงผล.
ครั้งที่ 8 Function.
การรับค่าและแสดงผล.
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
LAB # 3 Computer Programming 1
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
LAB # 5.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
Wangg991.wordpress.com Stand SW 100 Click when ready  Reasoning.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
NUMBER SYSTEM เลขฐานสิบ (Decimal Number) เลขฐานสอง (Binary Number)
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
อาร์เรย์และข้อความสตริง
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
Office of information technology
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ข้อ 1 โจทย์ ชาย อายุ 59 ปี มีไข้ ตรวจชีพจร และฟังได้หัวใจเต้นไม่ส่ำเสมอ ทำ ECG ดังแสดง จงอ่าน ECG นี้โดยละเอียด.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
คำสั่งเงื่อนไข (Condition Statement)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
การค้นในปริภูมิสถานะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
การปรับเงินเดือน กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับ
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 3 6 9 12 15 18 21 24 27 30 4 8 12 16 20 24 28 32 36 40 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 6 12 18 24 30 36 42 48 54 60 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 8 16 24 32 40 48 56 64 72 80 9 18 27 36 45 54 63 72 81 90 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 Lab1.cpp

2. จงเขียนโปรแกรมต่อไปนี้ 2.1 โปรแกรมนี้เป็นโปรแกรมเมนูที่รับการคีย์อักขระจากคีย์บอร์ด กด L เมื่อผู้ใช้ต้องการ Load กด S เมื่อผู้ใช้ต้องการ Save กด E เมื่อผู้ใช้ต้องการ Edit กด Q เมื่อผู้ใช้ต้องการ Quit หากผู้ใช้ไม่กดอักขระQโปรแกรมจะวนรอบให้ผู้ใช้ป้อนข้อมูลไปเรื่อย Lab2-1.cpp 2.2.จงเขียนโปรแกรมเพื่อสร้างเมนูรายการร้านขายอาหารอิตาลี ซึ่งมีอาหาร 2 ชนิด คือ SPAGHETTI และ PASTA ให้เมนูมีตัวเลือก 3 อย่างได้แก่ 1 SPAGHETTI ราคา 60 บาท 2 PASTA ราคา 40 บาท 3 Quit โดยจะทำการวนซ้ำรับข้อมูลการซื้ออาหารของลูกค้าทีละรายเพื่อคำนวณรายรับสะสมแล้วแสดงผลเมื่อปิดร้าน(กด 3) Lab2-2.cpp

3. จงเขียนเกมส์ทายเลข โดยเราสมมติตัวเลขตัวหนึ่งใส่ในโปรแกรม จากนั้นให้ผู้เล่นเกมส์ทาย (ตัวเลข 1 – 100) หากผู้เล่นทายผิดให้ตอบว่ามากกว่าหรือน้อยกว่าแล้วให้ทายใหม่ หากตอบถูกให้บอกว่าถูกแล้วหยุดโปรแกรม ให้นับจำนวนครั้งของการตอบด้วย Lab3.cpp 4. จงเขียนโปรแกรมเพื่อรับตัวเลขจำนวนเต็ม N แล้ว แสดง เลขคี่ทั้งหมดที่อยู่ระหว่างศูนย์ ถึง N Enter N = 6 1 3 5 Enter N = 10 1 3 5 7 9 Lab4.cpp หมายเหตุ สีน้ำตาลแสดงหมายเลขบรรทัด, สีเขียวแสดงข้อมูลที่ป้อน และ N คือค่าที่ป้อน สีแดงแสดงผลลัพธ์

5. จงเขียนโปรแกรม รับตัวเลขจำนวนเต็มบวก N แล้วแสดงเลข prime Lab5.cpp Example 1 Enter N = 10 2 3 5 7 Example 2 Enter N = 20 2 3 5 7 11 13 17 19 หมายเหตุ สีน้ำตาลแสดงหมายเลขบรรทัด, สีเขียวแสดงข้อมูลที่ป้อน, สีแดงแสดงผลลัพธ์ และ N คือค่าที่ป้อน หมายเหตุ โปรแกรมจะใช้เวลานานมาก เมื่อ N มีค่าเพิ่มขึ้น หมายเหตุ prime number คือ เลขจำนวนเต็มบวกที่หารด้วย 1 และ ตัวมันเองเท่านั้นที่หารลงตัว