COE2011-27 การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ ระยะที่ 2 (Secret Sharing over RSA : Phase 2) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
Advertisements

เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
COE นายธีรพัฒน์ เสริตานนท์ รหัส นายปกรณ์ เตชะกิจกุล รหัส อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกูล อาจารย์ร่วมประเมินโครงการ.
CRYSTAL BALL โดย บัณฑิต มูลเพีย และ วิศรุต พรศรีเมตต์
โปรแกรมแสดงประวัติการแก้ไขแฟ้มเอกสาร (Multi-Version Text Viewer / Editor) COE นาย กัณวัตม์ ไชยารัศมี รหัส นาย ชัยวัฒน์ สุขปัญญา รหัส.
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
โปรแกรมจำลองการทำงาน
1. นายธนวัฒน์ กันพานิชย์
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
ระบบสรุปเอกสารภาษาไทย Thai-Text Summarization
Low-Speed UAV Flight Control System
Foot mouse ผู้นำเสนอโครงการ นายวรวุฒิ กีรสวัสดิ์ รหัส อาจารย์ที่ปรึกษา อ. ดร. วสุ เชาว์พานนท์ อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย.
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
Low-speed UAV Flight Control Phase II
General Purpose Prepaid Payment System COE ระบบชำระค่าบริการ ด้วยบัตรเงินสด ผู้จัดทำ โครงการ นายธนิด นะทะศิริ รหัส นายพัฒนพงศ์ ศรีทวีกาศ.
COE ผู้จัดทำโครงการ • นายธีรพัฒน์ เสริตานนท์ รหัส • นายปกรณ์ เตชะกิจกุล รหัส อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ • ผศ. บุญฤทธิ์ กู้เกียรติกูล.
Low-speed UAV Flight Control Phase II
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย Wireless electronic voter
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
Low-speed UAV Flight Control Phase II
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
COE เครื่องโหวตอิเล็กทรอนิกส์ไร้สาย wireless electronic voter
นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
COE Electronic Voting System
Speed Increasing of Blum Blum Shub Generator
Speed Increasing of Blum Blum Shub Generator
การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอสเอ (Secret Sharing over RSA)
Blum Blum Shub Generator การเพิ่มอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดบลัม บลัม ชับ
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
Probabilistic Asymmetric Cryptosystem
โครงสร้างพื้นฐานสำหรับโทรมาตรเอนกประสงค์
A Known-Plaintext Attack of the LFSR Stream Cipher 1.
นางสาวกิติยา จันทรุกขา นางสาวอรุณโรจน์ ชูสกุล
โดย นางสาววรรณวนัช โอภาสพันธ์สิน รหัส นางสาวก้องกิดากร วรสาร รหัส
COE PC Based Electrocardiograph
COE โปรแกรมการจัดทำตารางสอนสำหรับภาควิชา
การดาวน์โหลดข้อมูลจากเว็บไซต์ฐานข้อมูลพลังงานประเทศไทย
Private Key Crypto หรือ Single-key algorithm หรือ one-key algorithm
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System
การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ (Secret Sharing over RSA)
A Known-Plaintext Attack of the LFSR Stream Cipher
การเข้ารหัสลับกุญแจ สาธารณะสำหรับ สภาพแวดล้อมเคลื่อนที่ และไร้สาย นางสาวกิติยา จันทรุกขา นางสาวอรุณโรจน์ ชูสกุล COE อ. ที่ปรึกษา.
นางสาวกิติยา จันทรุกขา นางสาวอรุณโรจน์ ชูสกุล
Blum Blum Shub Generator การเพิ่มอัตราเร็วของแหล่งกำเนิดบลัม บลัม ชับ
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
CRYSTAL BALL โดย บัณฑิต มูลเพีย และ วิศรุต พรศรีเมตต์
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน
A Known-Plaintext Attack of the LFSR Stream Cipher
ระบบการจัดการสอบ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
โปรแกรมช่วยผู้ปกครองติดตาม ตำแหน่งของบุตรหลาน
Graphic Programming Language for PIC MCU
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
RSA & DSA RSA คือ อัลกอริธึมการเข้าหรัสแบบกุญแจอสมมาตร ซึ่งจะได้
การแยกตัวประกอบพหุนาม
Cryptography.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การเข้ารหัสและการถอดรหัส
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
กำหนดการพลวัต (Dynamic programming)
การแบ่งแยกและเอาชนะ Divide & Conquer
การแบ่งแยกและเอาชนะ Divide & Conquer
โครงการเทคนิคและเทคโนโลยีสนับสนุนงานตรวจสอบ “Risk & Control” จัดโดย สำนักงานตรวจสอบภายใน จุฬาฯ วันที่ 22 กรกฎาคม 2553.
นายรัชภูมิ เกื้อภักดิ์ รหัสนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. อนันท์ ชกสุริวงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

COE2011-27 การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ ระยะที่ 2 (Secret Sharing over RSA : Phase 2) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน โดย ดร. ภัทรวิทย์ พลพินิจ นาย กฤษณะ แก้วคง รหัส 513040468-3 ดร. วสุ เชาว์พานนท์ นาย อโนชา อุพลเถียร รหัส 513040544-3

รายละเอียดการนำเสนอ ที่มาและความสำคัญของโครงการ เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ ภาพรวมของระบบ ผลการทำงาน บทสรุป

ที่มาและความสำคัญของโครงการ กลวิธีแบ่งปันความลับสามารถอำนวยความสะดวกในการเผยแพร่หรือแบ่งปันกระบวนการสำคัญ โดยอาศัยความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้อง ข้อเสียของกลวิธีนี้คือการจัดการกุญแจที่ไม่มีประสิทธิภาพ และการสื่อสารของผู้ที่เกี่ยวข้อง โครงการการแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ ระยะที่ 2 เป็นการพัฒนาอัลกอริทึม และโปรแกรมในส่วนของการสร้างข้อมูลลับกลับจากกุญแจลับร่วม ( 𝑥 𝑖, 𝑦 𝑖 ) ด้วยวิธีพหุนามการประมาณค่าในช่วงของลากรานจ์ เพื่อลดความซับซ้อนเชิงเวลาและพื้นที่ว่าง และเพิ่มประสิทธิผลการแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอให้สูงขึ้น กลวิธีแบ่งปันความลับสามารถอำนวยความสะดวกในการเผยแพร่หรือแบ่งปันกระบวนการสำคัญ อาทิเช่น การสั่งจ่ายเช็ค การเปิดตู้เซฟธนาคาร เป็นต้น โดยอาศัยความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้อง 𝑡 จาก 𝑤 คน ข้อเสียของกลวิธีนี้คือการจัดการกุญแจที่ไม่มีประสิทธิภาพ และการสื่อสารของผู้ที่เกี่ยวข้อง กลวิธีแบ่งปันความลับหมายถึงการกระจายความลับท่ามกลางกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง โดยสามารถสร้างข้อมูลลับนั้นขึ้นมาใหม่ได้ หากว่ามีจำนวนคนที่ได้สิทธิเพียงพอกับจำนวนที่ตั้งไว้ให้สามารถสร้างข้อมูลลับกลับได้ แต่ทว่าการแบ่งปันความลับดังกล่าวไม่เหมาะกับข่าวสารปริมาณมากเพราะต้องใช้จำนวนเต็มขนาดใหญ่ในการคำนวณซึ่งทำให้เกิดความล่าช้า และไม่สะดวกต่อการส่งข้อมูลในระยะไกล การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ ระยะที่ 2 เป็นการพัฒนาอัลกอริทึม และโปรแกรมในส่วนของการสร้างกุญแจลับกลับจากกุญแจลับร่วม เพื่อลดความซับซ้อนเชิงเวลาและพื้นที่ว่าง และเพิ่มประสิทธิผลการแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอให้สูงขึ้น

เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ เป้าหมายของโครงการ ได้โปรแกรมต้นแบบสำหรับแบ่งปันข้อมูลลับที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สะดวก และความปลอดภัยสูง ขอบเขตของโครงการ พัฒนาโปรแกรมที่ใช้ในการแบ่งปันข้อมูลลับด้วยภาษา Python

ภาพรวมของระบบ

การเข้ารหัส

การถอดรหัส

การออกแบบ

การผลิตกุญแจลับร่วม ตัวอย่าง สุ่มจำนวนเฉพาะ สร้างฟิลด์ 𝔽 𝑝 กำหนดจำนวนกุญแจลับร่วม 𝑤 และ จำนวนกุญแจที่จะสามารถสร้างกุญแจลับกลับได้ 𝑡 ในที่นี้ 𝑝 = 90761332380149185999

การผลิตกุญแจลับร่วม ตัวอย่าง สุ่ม 𝑆 𝑖 เหนือฟิลด์ 𝔽 𝑝 เมื่อ 1≤𝑖≤𝑡−1 เพื่อสร้างกุญแจลับร่วม

การผลิตกุญแจลับร่วม ตัวอย่าง กุญแจลับร่วม ( 𝑥 𝑖, 𝑦 𝑖 ) ที่ได้จากการแทนค่า 𝑥 𝑖 ลงในสมภาค (1)

การออกแบบ

การถอดรหัสข้อมูลลับร่วม ตัวอย่าง การนำกุญแจลับจำนวน 3 ชุด เพื่อสร้างข้อมูลลับกลับด้วยวิธีพหุนามการประมาณค่าในช่วงของลากรานจ์

การถอดรหัสข้อมูลลับร่วม ตัวอย่าง นำกุญแจ 𝑥 1, 𝑦 1 ,… , 𝑥 𝑡, 𝑦 𝑡 ตามจำนวน 𝑡 แทนในสมการ (3) จะได้ข้อมูลลับ 𝑚=12678965446789980

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การผลิตกุญแจลับร่วม การถอดรหัสข้อมูลลับร่วม วิธี Vandermonde Matrix วิธีพหุนามการประมาณค่าในช่วงของลากรานจ์ การเข้ารหัสแบบ DES การเข้ารหัสแบบ RSA

การผลิตกุญแจลับร่วม การผลิตกุญแจลับร่วม 1. สุ่มจำนวนเฉพาะ 𝑝 1. สุ่มจำนวนเฉพาะ 𝑝 2. สร้างฟิลด์บนจำนวนเฉพาะ 𝔽 𝑝 3. กุญแจลับที่ต้องการสร้างกุญแจลับร่วม 𝑚 ต้องอยู่ เหนือฟิลด์ 𝔽 𝑝

การผลิตกุญแจลับร่วม 4. กำหนดจำนวนกุญแจลับร่วม 𝑤 และ จำนวนกุญแจที่จะสามารถสร้างกุญแจลับกลับได้ 𝑡 5. สุ่ม 𝑆 𝑖 ∈ 𝔽 𝑝 เมื่อ 1≤𝑖≤𝑡−1 และใช้สมภาค (1) เพื่อสร้างกุญแจลับร่วม (1)

การถอดรหัสข้อมูลลับร่วม วิธี Vandermonde Matrix 1. เมื่อทราบค่า 𝑝 แล้วนำมาสร้างฟิลด์ 𝔽 𝑝 2. นำกุญแจ 𝑥 1, 𝑦 1 ,… , 𝑥 𝑡, 𝑦 𝑡 ตามจำนวน 𝑡 แทนในสมการ (2) ในรูปของเมตริกซ์ (2)

การถอดรหัสข้อมูลลับร่วม วิธีพหุนามการประมาณค่าในช่วงของลากรานจ์ 1. เมื่อทราบค่า 𝑝 แล้วนำมาสร้างฟิลด์ 𝔽 𝑝 2. นำกุญแจ 𝑥 1, 𝑦 1 ,… , 𝑥 𝑡, 𝑦 𝑡 ตามจำนวน 𝑡 แทนในสมการ (3) (3)

การเข้ารหัสแบบ DES การเข้ารหัสแบบ DES เป็นอัลกอริทึมการเข้ารหัสแบบสมมาตร ทั้งผู้ส่งและผู้รับจะใช้ Key ตัวเดียวกันในการเข้ารหัสและถอดรหัส เป็นการเข้ารหัสแบบบล็อกขนาด 64 บิต โดยใช้กุญแจขนาด 56 บิต + 8 parity บิต ในการเข้ารหัสข้อความ

การเข้ารหัสแบบ DES ใช้เข้ารหัสข้อมูลขนาดใหญ่ เนื่องจากมีความรวดเร็วในการประมวลผลสูง มีการคำนวณซ้ำๆ 16 รอบต่อข้อมูลหนึ่งบล็อก ทำให้การถอดรหัสข้อมูลโดยไม่มีคีย์เป็นไปได้ยาก สามารถประมวลผลได้ในหลายระบบปฏิบัติการ

การเข้ารหัสแบบ RSA การเข้ารหัสแบบ RSA เป็นอัลกอริทึมการเข้ารหัสแบบอสมมาตร ในการเข้ารหัสโดยใช้ความรู้เรื่องเลขคณิตมอดุลาร์เข้ามาช่วยในการคำนวณ (modular arithmetic) RSA นั้น จะมีการสร้าง Public Key และ Private Key เพื่อใช้ในการเข้ารหัสและถอดรหัสโดยที่ ฝั่งผู้ส่งจะใช้ Public Key ในการเข้ารหัส และฝั่งผู้รับจะใช้ Private Key ในการถอดรหัส

ความปลอดภัยของการเข้ารหัสแบบ RSA

ผลการทำงาน

ผลการทำงาน

ผลการทำงาน

ผลการทำงาน

สรุป ได้โปรแกรมต้นแบบสามารถแบ่งปันความลับได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพสูง สะดวก และความปลอดภัยสูง สามารถนำอัลกอริทึมนี้ไปต่อยอดในด้านความปลอดภัยอื่นๆได้

ถาม-ตอบ

ขอบคุณครับ