เครื่องแสดงภาพโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก Ultrasonic Imaging System

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
Advertisements

หลักการของอัลตร้าโซนิก เครื่องทำความสะอาดด้วยอัลตร้าโซนิก Ultrasonic Cleaning Machine Mahanakorn University of Technology บทนำ โครงงานนี้เป็นการออกแบบสร้างเครื่องทำความสะอาดด้วยอัลตร้าโซนิกและศึกษากระบวนการทำความสะอาดด้วยอัลตร้าโซนิกซึ่งเป็นที่นิยมกันอย่า
แขนกลในงานอุตสาหกรรม Industrial Robotic Arm
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
Chapter5:Sound (เสียง)
เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการ Enhance Service Quality
ภาควิชาวิศวคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการ ตรวจสอบจำแนกโดยคลื่นความถี่ วิทยุสำหรับงานวิ่งมาราธอนขอนแก่น นานาชาติ
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
Development of e-Office System for Computer Centre at Khon Kaen University COE นาย กรีชา ซื่อตรง รหัส นาย ปรเมศวร์ มาพิทักษ์ รหัส.
ซอฟต์แวร์ควบคุมหุ่นยนต์อย่างง่าย A Simplified Robot Controlling Software นายจักรี วิญญาณ นายนฤนารถ อออิงทรัพย์
ระบบตรวจสอบคลังสินค้าเครื่องประดับทองรูปพรรณและเพชรพลอย โดยใช้เทคโนโลยีการจำแนกด้วยคลื่นความถี่วิทยุ
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
อุปกรณ์ตรวจจับความสม่ำเสมอของผิวโลหะโดยใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าวิ่งวน
เครื่องแสดงภาพโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก Ultrasonic Imaging System COE
เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล นายมาโนชย์ ทองขาว อาจารย์ที่ปรึกษา.
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
Low-speed UAV Flight Control Phase II
ZigBee Data Analysis Using Vector Signal Analyzer
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ. วาธิส ลีลาภัทร
นางสาวสุรีย์พร ศรีภิรมย์
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
PC Based Electrocardiograph
Measuring wheels Capable of trajectory mapping in 2-D plane
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
หมายเลขโครงการ : COE ผู้พัฒนาโครงการ : นางสาวนิรมล พันสีมา รหัส
เครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจโดยใช้PC
โดย นายมนชิต วชิรพรพงศา และ นายสรณัย จันทรโยธา
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
เครื่องวัดชีพจรแบบไร้สาย Wireless Heart Rate Monitor
อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไร้สาย Wireless Electrocardiogram
เครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติ
CoE เครื่องไล่สัตว์รบกวนด้วยคลื่นความถี่อัลตร้าโซนิค (Sweepable Ultrasonic  Generator) จัดทำโดย นางสาวสุดามณี  วิชัย เลขประจำตัว  
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
COE PC Based Electrocardiograph
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
โครงการเครือข่ายไฟจราจรอัจฉริยะ Intelligent Traffic Light Network
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
นายกรวิษณ์ จั่นทอง นายพันธาวุฒิ ภูครองจิต อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
เครื่องแสดงภาพโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก Ultrasonic Imaging System COE
เครื่องแสดงภาพโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก Ultrasonic Imaging System COE
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
PC Based Electrocardiograph
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
Holter Monitor เครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบพกพา
รายงานความก้าวหน้าโครงการ Wireless Sensor Network for Smart Home
Low-Speed UAV Flight Control System
ระบบการสื่อสารข้อมูล
ภาควิชา วิศวกรรมโลหการ
ระบบควบคุมวัตถุเสมือน Augmented Reality Object Manipulation System
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
โปรแกรมการทดสอบวัดความสามารถพื้นฐาน ทางการเรียนของนักศึกษา
การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
เครื่องวัดระดับน้ำในถังเก็บ
Touch Screen.
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง โปรแกรมคำนวณหาค่า tan
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ULTRASONIC TESTING คลื่นเสียงความถี่สูงหรืออัลตราโซนิกในความหมายโดยทั่วไปจะหมายถึง “คลื่นเสียงความถี่สูงที่หูมนุษย์ไม่สามารถได้ยินได้” ซึ่งคลื่นเสียงที่หูมนุษย์สามารถจะได้ยินหรือรับรู้ได้นั้นจะมีความถี่อยู่ระหว่าง.
การตรวจสอบการความสามารถ ในการกันเสียงของวัสดุต่างๆ
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
แผนผังการสร้างงาน วิชาคอมพิวเตอร์สร้างงาน เรื่อง การสแกนร่างกาย
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องแสดงภาพโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก Ultrasonic Imaging System ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผู้พัฒนา ทีมงาน อาจารย์ที่ปรึกษา นายมนัสชัย คุณาเศรษฐ 453040870-4 นายมนัสชัย คุณาเศรษฐ 453040870-4 นางสาวศศิธร พัวไพโรจน์ 453040963-7 นายวิทวัส กาพย์ไกรแก้ว 453040927-1 อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ดร. นวภัค เอื้ออนันต์ อ.ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อ.ดร. ดารณี หอมดี http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา คลื่นอัลตราโซนิก (Ultrasonic Wave) คลื่นเสียงที่มนุษย์ได้ยิน คือ 20 – 20,000 Hz อัลตราโซนิก มีความถี่มากกว่า 20 kHz คลื่นมีคุณสมบัติการสะท้อน ใช้ในการวัดระยะทาง ในตัวกลางต่างๆ http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

การวัดความหนาโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิก การวัดความหนา และ การสะท้อนจุดบกพร่อง ตัวอย่างการตรวจสอบ http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

วัตถุประสงค์ของโครงการ พัฒนาระบบตรวจวัดความหนาของวัตถุโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิกที่มีราคาถูกและให้ข้อมูลความหนาของวัตถุได้อย่างสมบูรณ์ พัฒนาระบบรวบรวมข้อมูลการตรวจสอบความหนาของวัตถุเพื่อนำมาสร้างเป็นภาพ 3 มิติ http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

Process & display result โครงสร้างของระบบ Ultrasonic Probe Web Camera Process & display result http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

เครื่องมือที่ใช้ Hardware Data Acquisition Card Ultrasonic probe Camera Filter and Amplifier Circuit DirectX 9.0 Compatible Graphics Card Software Platform Windows XP SP2 Microsoft C# .NET Microsoft DirectX 9.0 SDK http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

ขอบเขตของโครงงาน ผิวของวัตถุที่ตรวจสอบต้องมีลักษณะเรียบ วัตถุที่ตรวจสอบ ต้องมีขนาดไม่หนาหรือบางเกินไป เป็นวัสดุที่คลื่นอัลตราโซนิกสามารถเดินทางผ่านได้ http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

การหาตำแหน่งของหัวรับส่งสัญญาณ การทำ Color Segmentation ใน RGB Vector Space เป็นการคัดเลือกพิกเซลสี ด้วยวิธี Euclidean distance http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

การส่งสัญญาณและตรวจหาสัญญาณสะท้อน สร้างสัญญาณ Sinusoid เพื่อส่งไปยังหัวรับส่งสัญญาณ คลื่นอัลตราโซนิก สร้างจากการกระตุ้น piezoelectric ด้วยสัญญาณไฟฟ้า ความถี่ที่ใช้ คือ 2.5 MHz และ 5 MHz ตรวจสัญญาณสะท้อนโดยการหา Cross-Correlation http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

การส่งสัญญาณและตรวจหาสัญญาณสะท้อน http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

การแสดงผล กราฟแท่งระดับความหนาของวัตถุ ภาพจำลอง 3 มิติ ของวัตถุ ซึ่งสร้างจากข้อมูลความหนา http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

ประสิทธิภาพในการวัดความหนา http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

ปัญหาที่พบจากการพัฒนา สัญญาณที่ได้มีขนาดเบามาก เพราะความแตกต่างระหว่าง Acoustic Impedance ของวัตถุที่ตรวจสอบกับสาร Couplant มีสัญญาณรบกวน ขนาด 50 Hz ซึ่งพบว่าเกิดจากระบบไฟฟ้า AC 220 V http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

การแก้ไขปัญหา การ เพิ่มวงจรขยายสัญญาณ โดย Application ของ IC Inverter โดยมีอัตราขยายประมาณ 50 เท่า เพิ่มวงจรกรองสัญญาณ High-pass มี fc ที่ 100 kHz เลือกใช้สาร Couplant ที่มีคุณภาพดีขึ้น นั่นคือกลีเซอรีน ทำให้ Transmit Energy เพิ่มขึ้น 56.91 % http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

การนำไปใช้งาน ใช้วัดความหนาของวัตถุที่ให้ผลแม่นยำ นำไปประยุกต์ใช้ในงานอุตสาหกรรม อาทิ งานตรวจสอบ บำรุงรักษา อุปกรณ์ ใช้ในการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ (Quality Control) http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

สรุปผลการพัฒนาโครงการ นำข้อมูลความหนาของวัตถุมาแสดงเป็นภาพชิ้นงานจำลอง สะดวกต่อการวิเคราะห์ชิ้นงานและบันทึกข้อมูลเพื่อใช้ในภายหลังได้ ใช้วัดความหนาของวัตถุรูปทรงต่างๆที่ทำจากวัสดุหลายชนิด เช่น อะลูมิเนียม เหล็ก อะคริลิก หรือกระจก มีเงื่อนไขจำกัด คือ วัตถุต้องมีผิวเรียบ และไม่หนาหรือบางเกินไป การใช้งานจริงต้องเลือกใช้หัวรับส่งสัญญาณคุณภาพสูงซึ่งมีราคาแพง จึงจะสามารถตรวจสอบวัตถุได้อย่างแม่นยำ http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/

บรรณานุกรม ฟูจิอิ ซาโตะ. 2541. การทดสอบแบบไม่ทำลาย. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) มาโนชญ์ ศรีคงแก้ว และศุภชัย พรหมจรรย์. 2547. เครื่องตรวจสอบรอยบกพร่องและความหนาของโลหะแผ่น โดยใช้คลื่นอัลตราโซนิกส์. Benson, C. 1960. Ultrasonics (Second Edition). Rafael, C. G. and Richard E. W. 2002. Digital Image Processing. Prentice Hall Stefan, K. and Zdenko, F. 1996. Ultrasonic Measurements and Technologies. Chapman & Hall. BAMR (Pty) Ltd. 2006. Velocity of Materials. Cape Town: South Africa (http://www.bamr.co.za) ค้นคว้าเมื่อวันที่ 10 ม.ค. 2549. Olympus NDT. 2005. Ultrasonic Flaw Detection. Waltham: USA. (http://www.panametrics-ndt.com) ค้นคว้าเมื่อวันที่ 22 ก.ค. 2548. http://campus.en.kku.ac.th/~coe2005-08/